ปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อความสำเร็จของรพ.สต. โดย นพ.ทวีเกียรติ บุญยไพศาลเจริญ ปฏิบัติหน้าที่ผู้ตรวจราชการ เขต 11
ทศวรรษพัฒนาสถานีอนามัย 1.วิวัฒนาการของบริการปฐมภูมิจากโอสถสภา สู่ รพ.สต. โอสถสภา พ.ศ. 2456 พ.ศ. 2475 สุขศาลา มีแพทย์ประจำ ไม่มีแพทย์ประจำ พ.ศ.2485 สุขศาลาชั้นหนึ่ง สุขศาลาชั้นสอง พ.ศ.2485 พ.ศ.2497 สถานีอนามัยชั้นหนึ่ง สถานีอนามัยชั้นสอง พ.ศ.2495 พ.ศ.2515 ศูนย์การแพทย์อนามัยชนบท สถานีอนามัย พ.ศ.2515 พ.ศ.2525 ยกฐานะสำนักงานผดุงครรภ์เป็นสถานีอนามัยเปลี่ยนจากเจ้าหน้าที่สาธารณสุขเป็นเจ้าพนักงานสาธารณสุขชุมชน พ.ศ.2517 ศูนย์การแพทย์อนามัย พ.ศ.2518 โรงพยาบาลอำเภอ นักวิชาการสาธารณสุข พ.ศ.2535 ทศวรรษพัฒนาสถานีอนามัย ใหญ่,เล็ก พ.ศ.2525 โรงพยาบาลชุมชน พยาบาลวิชาชีพ พยาบาลเวชปฏิบัติ พ.ศ.2550 2.1 2.2 2.3 ศูนย์สุขภาพชุมชน พ.ศ.2544 จะเป็น 10 Care หรือ 20 Care ? รพ.สต. พ.ศ.2553
แนวทางการพัฒนารพ.สต. Out put Input Process - ดำเนินการ งบประมาณ SP2 - ครุภัณฑ์ - ดำเนินการ - ปรับปรุงภูมิทัศน์ บุคลากร - จากโรงพยาบาล - จ้างใหม่ - เพิ่มศักยภาพ เช่น NP 1. ภาพลักษณ์ต้องตา - อาคารสถานที่สวยงามเป็นระเบียบ - การแต่งกายเจ้าหน้าที่เหมาะสม - Logo 2. เนื้อหาสาระถูกใจ หลักการเวชศาสตร์ครอบครัว - รู้จักและเข้าใจกัน - สร้างสรรค์สุขภาพชุมชน - เพิ่มผลคุณภาพการรักษา 3. รูปแบบใหม่ของการจัดการ - กองทุนสุขภาพชุมชน - แผนสุขภาพตำบล - กรรมการพัฒนา รพสต. - Context Base Learning 1. By-passing ลดการข้ามขั้นตอน 2. Self Care เพิ่มการดูแลตนเอง
2. ผลผลิตที่ควรได้จากรพ.สต. 2.1 ประชาชนดูแลตนเองได้มากขึ้น (self care) ดูแลกันเองในเรื่องเจ็บป่วยเล็กๆน้อยๆในครอบครัว ชุมชน โรงเรียน ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมไม่ให้เสี่ยงต่อการเกิดโรค เช่น ออกกำลังกายมากขึ้น ควบคุมอาหารหวาน มัน เค็ม ลดแหล่งแพร่พันธ์ไข้เลือดออก ลดเหล้า บุหรี่ ลดการกินปลาดิบหรือของสุกๆดิบๆ เป็นต้น
2. ผลผลิตที่ควรได้จากรพ.สต.(ต่อ) 2.2 ลดการข้ามขั้นตอนไปใช้บริการที่โรงพยาบาล จำนวนผู้รับบริการไปรพ.น้อยลง ประชาชนมีความพึงพอใจและไว้ใจรพ.สต.มากขึ้น อัตราการรับไว้รักษาของผู้ป่วยโรคเรื้อรังในรพ.ลดลง
3. ปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อความสำเร็จของรพ.สต. 3.1 การพัฒนากำลังคน 3.2 การบริหารจัดการระดับอำเภอ 3.3 การนำหลักการของเวชศาสตร์ครอบครัว มาใช้ในการให้บริการ
4. การพัฒนากำลังคน 4.1จำนวนผู้ให้บริการที่ควรมีใน รพ.สต. ผู้ให้บริการหลัก Family med, แพทย์ทั่วไป NP RN ผู้ให้บริหารสนับสนุน นักวิชาการสาธารณสุข เจ้าพนักงานสาธารณสุขชุมชน พยาบาลชุมชน
4. การพัฒนากำลังคน (ต่อ) ทันตสาธารณสุข ทันตแพทย์ ทันตาภิบาล ฟื้นฟูสภาพ นักกายภาพบำบัด แพทย์แผนไทย ธุรการ การเงิน, พัสดุ, นักจัดการ
4. การพัฒนากำลังคน (ต่อ) 4.2 การพัฒนาศักยภาพบุคลากรใน รพ.สต. การฝึกอบรมตามหลักสูตร (Training program) การแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยใช้บริบทของพื้นที่เป็นฐาน (Context based learning) การสร้างนวัตกรรมสุขภาพชุมชนของรพ.สต.ร่วมกับชุมชน
5. การบริหารจัดการระดับอำเภอ (CUP Management , District Health System คปสอ.) ผอ.รพ. + สสอ. ต้องร่วมกันทำให้สิ่งเหล่านี้เกิดขึ้น 5.1 การพัฒนาศักยภาพในการให้บริการปฐมภูมิ ตามบริบทของพื้นที่ (Context based learning) 5.2 การจัดสรรเงินอย่างเป็นธรรม
5. การบริหารจัดการระดับอำเภอ (ต่อ) 5.3 การจัดทำแผนสุขภาพตำบล และ อำเภอ 5.4 Referral System และระบบการปรึกษา 5.5 การสนับสนุนชุมชน ให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และการผลิตนวตกรรมสุขภาพชุมชน
5. การบริหารจัดการระดับอำเภอ (ต่อ) 5.6 กรรมการ รพ.สต. มองออกนอกกรอบของสาธารณสุข สร้างการมีส่วนร่วมของท้องถิ่นและชุมชน 5.7 สร้างกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน ระหว่างรพ.สต. กับ รพช./รพท./รพศ. และ รพ.สต.กับชุมชน
6.การนำแนวคิดเวชศาสตร์ครอบครัวมาใช้ 6.1 หลักการ รู้จักและเข้าใจกัน community relationship สร้างสรรค์สุขภาพชุมชน empowerment เพิ่มผลคุณภาพ quality of care 6.2 ลักษณะ Holistic Continuity Integrated
6.การนำแนวคิดเวชศาสตร์ครอบครัวมาใช้(ต่อ) 6.3 กิจกรรม การรักษาโรคง่ายๆ ,โรคเรื้อรัง, ดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย, EMS ดูแลผู้พิการ Rehabilitation Risk group สุขภาพจิตชุมชน การควบคุมโรค การคุ้มครองผู้ปริโภค การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
6.การนำแนวคิดเวชศาสตร์ครอบครัวมาใช้(ต่อ) 6.4 เครื่องมือ Home visit Family folder ข้อมูลข่าวสารชุมชน Referral system เครื่องมือศึกษาวิถีชุมชน
7.การพัฒนาบุคลากรโดยใช้บริบทของพื้นที่เป็นฐาน (context based learning) ใช้รพ.และชุมชนเป็นฐานในการเรียนรู้ เรียนในสิ่งที่ทำ ทำในสิ่งที่เรียน ใช้หระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ กระบวนการนิเทศงานอย่างต่อเนื่อง การฝึกอบรมระยะสั้นในโรงพยาบาลช่วงสุดสัปดาห์ การเยี่ยมบ้านร่วมกัน การเยี่ยมผู้ป่วยที่รพ.จากที่รพ.สต. Case conference
ขอบคุณครับ