ฝ่ายวางแผนและพัฒนาระบบงาน กองแผนงาน 15 กุมภาพันธ์ 2553

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การประเมินผลสถานศึกษา
Advertisements

การเตรียมความพร้อมในการเสนอโครงการภายใต้แผนปฏิบัติการฯในระดับจังหวัด
การติดตามและประเมินผล ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
บทที่ ๑ ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับการวิเคราะห์ และออกแบบระบบสารสนเทศ (Introduction to Information System Analysis) 22/7/03 บทที่
ความหมายของการวางแผน
การจัดทำรายงานการควบคุมภายใน ตามระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน
หลักเกณฑ์การวิเคราะห์ความเสี่ยง ตามหลักธรรมาภิบาล
ข้อควรพิจารณาในการปรับแผนยุทธศาสตร์ คณะวิทยาการสารสนเทศ พ. ศ
การประเมินความเสี่ยง เพื่อวางแผนการตรวจสอบ
CURADIO FEEDBACK SYSTEM TO PUBLIC
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
ที่มาของระบบควบคุมภายใน
นาวาอากาศตรีหญิง พรประภา โลจนะวงศกร
สรุป การประเมินผลการควบคุมภายใน
ขั้นตอนที่ 4 การวิเคราะห์ความเสี่ยง สภาพแวดล้อมภายในและภายนอก
การเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและร่วมติดตาม ตรวจสอบผลการปฏิบัติราชการ วันที่ 29 มกราคม 2551.
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำแผนการพัฒนาและการปฏิบัติการ ของโครงการโดยเจ้าหน้าที่โครงการมีส่วนร่วม ปี พ.ศ.2552.
กลุ่มที่ สถาบันที่มี IBC
สภาพแวดล้อมปัจจุบัน โลกยุคโลกาภิวัตน์ สังคม เศรษฐกิจ
การติดตาม และประเมินโครงการ.
โครงการ พัฒนาศักยภาพสหกรณ์ แบบเบ็ดเสร็จตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
การบริหารจัดการความเสี่ยงของสหกรณ์
การประเมินคุณภาพภายในกอง แผนงาน ประจำปีการศึกษา 2551 วันที่ 20 กรกฎาคม 2552 โดย คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายใน.
- แผนงานที่ไม่มีโครงการจะเป็นแผนงานที่ไม่มีความสมบูรณ์ ไม่สามารถนำไปปฏิบัติเป็นรูปธรรม
แผนที่ยุทธศาสตร์สำนักพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารงานบุคคล
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
บทที่ 3 การวางแผน การบริหารจัดการที่จะประสบความสำเร็จจะต้องมีหน้าที่สำคัญ 4 ประการ การจัดองค์การ การนำ การควบคุม.
KM เรื่อง “การบริหารความเสี่ยง” ส่วนบริหารการจัดเก็บภาษี
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
หมวด2 9 คำถาม.
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
โครงสร้างและวัฒนธรรมองค์การ (Organizational Structure and Culture)
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
มิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กร
การบริหารความเสี่ยง ประเภทความเสี่ยง ความเสี่ยง (RISK)
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
แนวทางการจัดทำมาตรฐานความโปร่งใสของกรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ.2557
1 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ กลุ่มที่ 5. 2 สมาชิกกลุ่ม 18.
การตรวจราชการ กับการบริหารความเสี่ยง
สรุปประเด็นการประชุมสัมมนากลุ่มย่อย
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด2 9คำถาม.
การบริหารความเสี่ยง (Risk Management)
การติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติงาน (Operational Risk)
ปัญหาการวิจัย โดย ดร.วรรณะ บรรจง.
มาตรฐานการควบคุมภายใน
สถานประกอบการสร้างเสริมสุขภาพ
Assignment : หลักการการวิจัยการจัดการความรู้ ชื่อหัวข้อวิจัย
การบริหารและกระบวนการวางแผน
การตรวจสอบ และการควบคุมภายใน
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
แบบฟอร์ม - ERM I ดร.ทองม้วน นาเสงี่ยม ผู้เชี่ยวชาญ และที่ปรึกษา
การเขียนรายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR)
Evaluation as a Strategy ; สำนักประเมินผล สำนักงบประมาณ
การจัดทำแผนยุทธศาสตร์อำเภอชุมพลบุรี
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
มาตรการเร่งรัดติดตาม การใช้จ่ายเงินปีงบประมาณ พ.ศ.2557
การติดตาม และการควบคุม (Monitoring and Control)
มีอำนาจหน้าที่ตามกฎกระทรวง
ประสบการณ์การบริหาร มหาวิทยาลัย ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๐. เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารมหาวิทยาลัย โครงสร้าง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รูปแบบการบริหารและขอบเขต อำนาจ.
1 I K R S การประชุม เรื่อง “ การบริหารความเสี่ยงและ การวางระบบการควบคุมภายใน ” วันพุธที่ 1 กันยายน 2547 โดย ผู้ช่วยอธิการบดี ( ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประเสริฐ.
หลักการเขียนโครงการ.
หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมอนามัย
กลุ่มกำกับมาตรฐานการบัญชี สตท.7 29 ม. ค.51. แบ่งเป็น 3 ประเภท คือ แบ่งเป็น 3 ประเภท คือ  รายงาน ประจำเดือน  รายงานประจำปี  รายงานกรณี เร่งด่วน รายงานการตรวจสอบกิจการรายงานการตรวจสอบกิจการ.
กลุ่ม สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร.
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ฝ่ายวางแผนและพัฒนาระบบงาน กองแผนงาน 15 กุมภาพันธ์ 2553 การควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยง มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช (Internal COntrOl and Risk Management) STOU Model “การจัดวางระบบควบคุมภายใน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2553” ฝ่ายวางแผนและพัฒนาระบบงาน กองแผนงาน 15 กุมภาพันธ์ 2553

การควบคุมภายใน (Internal Control) หมายถึง กระบวนการที่ถูกออกแบบด้วยความมั่นใจอย่างมีเหตุผลว่าจะทำให้การปฏิบัติงานประสบผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์ วัตถุประสงค์

การบริหารความเสี่ยง (Risk Management) กระบวนการที่นำไปประยุกต์ใช้ใน การกำหนดกลยุทธ์ขององค์กรใน ทุกระดับ โดยได้รับการออกแบบ ให้สามารถระบุเหตุการณ์ที่อาจเกิดขึ้น และส่งผลกระทบต่อองค์กร และจัดการ ความเสี่ยงให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ เพื่อให้ได้รับความมั่นใจอย่าง สมเหตุสมผลในการบรรลุวัตถุประสงค์ ตามที่กำหนดไว้ ที่มา : COSO

ความสัมพันธ์ระหว่าง การบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายใน กรอบการบริหาร ความเสี่ยง กรอบการควบคุม ภายใน 1. วัตถุประสงค์ด้าน กลยุทธ์ 2. วัตถุประสงค์ด้าน การปฏิบัติงาน 1. วัตถุประสงค์ด้าน การปฏิบัติงาน 3. วัตถุประสงค์ด้าน การรายงาน 2. วัตถุประสงค์ด้าน การรายงาน 4. วัตถุประสงค์ด้าน การปฏิบัติตาม กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ 3. วัตถุประสงค์ด้าน การปฏิบัติตาม กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ

ความสัมพันธ์ระหว่าง การบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายใน กรอบการบริหารความเสี่ยง กรอบการควบคุมภายใน 1. สภาพแวดล้อมภายในองค์กร 1. สภาพแวดล้อมของการควบคุม 2. การกำหนดวัตถุประสงค์ 2. การประเมินความเสี่ยง 3. การระบุความเสี่ยง 4. การประเมินความเสี่ยง 5. การจัดการความเสี่ยง 6. กิจกรรมการควบคุม 3. กิจกรรมการควบคุม 7. สารสนเทศและการสื่อสาร 4. สารสนเทศและการสื่อสาร 8. การติดตามผล 5. การติดตามผล กรอบการบริหารความเสี่ยงขยายองค์ประกอบ “การประเมินความเสี่ยง” ให้ชัดเจน เป็น 4 องค์ประกอบ

กระบวนการบริหารความเสี่ยง ศึกษาวัตถุประสงค์ของ การทำงาน รวมทั้งเป้าหมาย/ตัวชี้วัดที่รับผิดชอบ และพิจารณาให้สอดคล้อง กับสภาพแวดล้อมขององค์กร ติดตามและสอบทาน ผลการบริหารความเสี่ยงและการเปลี่ยนแปลง ที่อาจมีผลกระทบ ติดตามผล ศึกษา วัตถุประสงค์ บ่งชี้เหตุการณ์ที่อาจมีผลต่อวัตถุประสงค์ ในระดับองค์กร ระดับหน่วยงาน และการปฏิบัติงานประจำวัน จัดการ ความ เสี่ยง กระบวนการ ต่อเนื่อง พิจารณาทางเลือก ที่จะนำไปปฏิบัติ เพื่อควบคุม ความเสี่ยง ระบุ ความเสี่ยง ประเมิน ความเสี่ยง พิจารณาการจัดการความเสี่ยง / การควบคุมที่มีและประเมินระดับของความเสี่ยงที่เหลืออยู่ จัดลำดับความเสี่ยงเพื่อระบุลำดับความสำคัญในการจัดการ และกำหนดเป็นแผนบริหาร/จัดการความเสี่ยง (หลีกเลี่ยง ถ่ายโอน ลด ยอมรับ)

วัดระดับความรุนแรงของความเสี่ยงจากอะไร ?? ความถี่ของการเกิดขึ้น ในอดีต โอกาสที่ จะเกิดขึ้น การคาดการณ์โอกาสที่จะเกิดขึ้นในอนาคต ระดับ ความ รุนแรง ผลกระทบที่เป็นตัวเงิน ผลกระทบ ผลกระทบที่มิใช่ตัวเงิน มุมมองของ สาธารณชน ผลสำเร็จของ การดำเนินงาน

ระดับความเสี่ยงโดยรวม ผลลัพธ์ = โอกาส x ผลกระทบ รายละเอียด สูง 13-25 จำเป็นต้องพิจารณากำหนดมาตรการ บริหารความเสี่ยง อย่างเร่งด่วน ปานกลาง 5-12 พิจารณากำหนด มาตรการบริหาร ความเสี่ยงตาม ความจำเป็น ต่ำ 1-4 มีโอกาสที่จะเกิด ความเสี่ยงต่ำ และ/หรือหากเกิดความเสี่ยงขึ้น จะไม่ส่งผลกระทบ ต่อการบรรลุเป้าหมายของ การดำเนินงาน มากนัก โอกาสที่จะเกิดความเสี่ยง ผลกระทบของความเสี่ยง

การหลีกเลี่ยง (Avoid) การหลีกเลี่ยงเหตุการณ์ ที่ก่อให้เกิดความเสี่ยง หลักการจัดการความเสี่ยงมี 4 ประเภท การหลีกเลี่ยง (Avoid) การหลีกเลี่ยงเหตุการณ์ ที่ก่อให้เกิดความเสี่ยง การถ่ายโอน (Transfer) การมอบหมายให้ผู้อื่น เข้ามาร่วมหรือแบ่ง ความรับผิดชอบ ในการจัดการความเสี่ยง การลด (Reduce) การดำเนินการเพิ่มเติม เพื่อลดโอกาสที่จะเกิดขึ้นหรือผลกระทบของ ความเสี่ยงให้อยู่ใน ระดับที่ยอมรับได้ การยอมรับ (Accept) ความเสี่ยงที่เหลืออยู่ อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ โดยไม่ต้องดำเนินการ เพิ่มเติม

งานที่มีระบบควบคุมภายในที่ดีเป็นอย่างไร 1. เป็นงานที่มีวัตถุประสงค์ควบคู่กับการมีระบบควบคุมภายในที่ดี 2. เป็นงานที่มีสภาพแวดล้อมของการควบคุมที่ดี 3. เป็นงานที่มีการประเมินความเสี่ยงอยู่เสมอ วัตถุประสงค์ 4. เป็นงานที่มีกิจกรรมเพื่อ การควบคุมที่ดีถูกสร้างขึ้น 5. เป็นงานที่มีสารสนเทศ และการสื่อสารที่ดี 6. เป็นงานที่มีการติดตามผล อยู่เป็นประจำ

การควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยง มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช (Internal Control and Risk Management STOU Model) แผนยุทธศาสตร์ 5 ปี ระดับมหาวิทยาลัย สภาพแวดล้อม (ใน/นอก) นโยบายสภามหาวิทยาลัย นโยบายอธิการบดี การประกันคุณภาพภายใน/ภายนอก คำรับรองการปฏิบัติราชการประจำปี PART การประเมินความคุ้มค่า Rolling แผนปฏิบัติราชการประจำปี ระดับมหาวิทยาลัย ระบบควบคุมภายในภายใต้มาตรฐาน COSO Cross-Functional Cross-Functional Cross-Functional Cross-Functional Cross-Functional ระบบ 1 สภาพแวดล้อมการควบคุม การประเมินความเสี่ยง กิจกรรมเพื่อการควบคุม สารสนเทศและการสื่อสาร การติดตามผล ระบบ 2 สภาพแวดล้อมการควบคุม การประเมินความเสี่ยง กิจกรรมในการควบคุม สารสนเทศและการสื่อสาร การติดตามผล ระบบ 4 สภาพแวดล้อมการควบคุม การประเมินความเสี่ยง กิจกรรมในการควบคุม สารสนเทศและการสื่อสาร การติดตามผล ระบบ 15 สภาพแวดล้อมการควบคุม การประเมินความเสี่ยง กิจกรรมในการควบคุม สารสนเทศและการสื่อสาร การติดตามผล วางระบบควบคุมภายใน จัดทำแผนบริหารความเสี่ยง

Plan Do Risk Based on STOU System ระบุปัจจัยเสี่ยง (Risk Factors) ระบุประเภท ความเสี่ยง วิเคราะห์ปัจจัย เสี่ยง (Risk Analysis) ประเมินและ จัดลำดับความ สำคัญของ ความเสี่ยง กำหนด มาตรการ / กิจกรรมการ บริหารความเสี่ยง บสน.1 (ผ่านคณะทำงานบริหารความเสี่ยงของหน่วยงาน) 15 ระบบ คณะกรรม การควบคุมภายใน และบริหารความเสี่ยง(ระดับมหาวิทยาลัย) บริหารความเสี่ยงแบบบูรณาการ (Cross-Functional Risk) ภายใต้แต่ละระบบ Risk Based on Department Mission ภารกิจของหน่วยงาน แผนปฏิบัติราชการประจำปี (A1 ปี 2554 เป็นต้นไป) บริหารความเสี่ยงภายในระดับหน่วยงาน ตามภารกิจ ตามเป้าหมายของแผนปฏิบัติราชการประจำปี

Check Act. 15 ระบบ สรุปบทเรียน จุดแข็ง/จุดอ่อน คณะกรรม การควบคุมภายใน และบริหารความเสี่ยง(ระดับมหาวิทยาลัย) รอบ 6 เดือน รอบ 12 เดือน จุดแข็ง จุดอ่อน คณะทำงานแต่ละระบบประชุมติดตามความก้าวหน้า (Cross Functional Risk) ยั่งยืน No Yes คณะทำงานควบคุมภายในและบริหารความเสี่ยง (ฝ่ายวางแผนฯ) จบ ปัจจัยของปีต่อไป (บสน.1 ปี54) คณะทำงานบริหารความเสี่ยงของหน่วยงาน และคณะกรรมการของหน่วยงานติดตามความก้าวหน้า สรุปบทเรียน จุดแข็ง/จุดอ่อน จบ Yes ยั่งยืน No จุดแข็ง จุดอ่อน Feedback ภารกิจหน่วยงานและ แผนปฏิบัติราชการประจำปี

STOU Internal Control Model วัตถุประสงค์การควบคุม มาตรฐาน COSO สภาพแวด ล้อมการควบคุม การประเมินความเสี่ยง กิจกรรมเพื่อการควบคุม สารสนเทศและการสื่อสาร การ ติดตามผล จุดแข็ง จุดอ่อน จุดแข็ง จุดอ่อน จุดแข็ง จุดอ่อน จุดแข็ง จุดอ่อน จุดแข็ง จุดอ่อน + + + + + สาเหตุ สาเหตุ สาเหตุ สาเหตุ สาเหตุ มาตรการ/แนวทาง มาตรการ/แนวทาง มาตรการ/แนวทาง มาตรการ/แนวทาง มาตรการ/แนวทาง ระบบควบคุมภายในที่ดี ประกาศมหาวิทยาลัย การติดตามประเมินผล การนำไปใช้

ระบบการควบคุมภายใน 15 ระบบของ มสธ. ปี 2553 การบริหารเชิงยุทธศาสตร์ การสอน การเรียน บริการนักศึกษา สื่อสิ่งพิมพ์ บริหาร บริหารสื่ออิเล็กทรอนิกส์ บริหารงานวิจัย ระบบสารสนเทศ บริหารทรัพยากรบุคคล การเงิน บัญชี งบประมาณ การบริหารพัสดุ การพึ่งพาตนเองฯ รักษาความปลอดภัย&อาคารสถานที่ ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ งานสารสนเทศ&ธุรการ การประกันคุณภาพ * ระบบควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยงที่มีประสิทธิภาพ * ตรวจสอบระบบควบคุมภายในทุกระบบที่ดำเนินการในปี 2553 (สอบทาน)

กระบวนการของการจัดทำระบบควบคุมภายใน สภาพปัจจุบันของกระบวนการติดตามและประเมินผล 2. การประเมินจุดแข็ง/จุดอ่อนตามเกณฑ์องค์ประกอบการควบคุมภายใน 2.1 สภาพแวดล้อมการควบคุม 2.2 การประเมินความเสี่ยง 2.3 กิจกรรมเพื่อการควบคุม 2.4 สารสนเทศและการสื่อสาร 2.5 การติดตามผล 3. วัตถุประสงค์ของการควบคุม ภายใน 4. การออกแบบระบบควบคุม ภายในที่ดี 5. ประกาศหลักเกณฑ์ของการควบคุม 6. ผลการนำไปใช้ และหลักฐานอ้างอิง ประกอบ 7. ข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุง/ พัฒนา ต่อไป

วัตถุประสงค์การควบคุมภายใน (Internal Control Objective) 1. ประสิทธิผลและประสิทธิภาพใน การปฏิบัติงาน (Effectiveness and efficiency of operations) 2. ความเชื่อถือได้ของรายงาน ทางการเงิน (Reliability of financial reporting) 3. การปฏิบัติตามกฎหมาย และ ระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Compliance with applicable laws and regulations)

ประเด็นที่ต้องตอบคำถาม สภาพแวดล้อมการควบคุม (Control Environment ) ประเด็นที่ต้องตอบคำถาม ความซื่อสัตย์และจริยธรรมในการทำงานมีหรือไม่ บุคลากรมีความรู้ความสามารถในการสร้างระบบควบคุม ภายในที่ดีหรือไม่ 3. มีคณะกรรมการบริหารและคณะกรรมการตรวจสอบหรือไม่ ถ้ามีทำหน้าที่เข้มแข็งมากน้อยเยงใด ปรัชญาการบริหารและรูปแบบการปฏิบัติงานมีความชัดเจน มากน้อยเยงใด โครงสร้างองค์กรมีการถ่วงดุลมากน้อยเยงใด การมอบอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบ ถ้ามี เคยมี การตรวจสอบหรือไม่ 7. นโยบายและการปฏิบัติมีความชัดเจนหรือไม่

การประเมินความเสี่ยง ( Risk Assessment ) วัตถุประสงค์ องค์กร ความเสี่ยง การจัดการ การจัดการ วัตถุประสงค์ กิจกรรม วัตถุประสงค์ กิจกรรม การจัดการ ความเสี่ยง วัตถุประสงค์ กิจกรรม วัตถุประสงค์ กิจกรรม วัตถุประสงค์ กิจกรรม ความเสี่ยง การจัดการ การจัดการ ความเสี่ยง ความเสี่ยง การจัดการ

กิจกรรมเพื่อการควบคุม (Control Activities) ประเด็นที่ต้องตอบคำถาม ● มีการรับรู้เหตุการณ์ที่เป็นความเสี่ยงหรือไม่ ● มีการกำหนดตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงานที่ชัดเจนหรือไม่ ● มีวิธีการควบคุมงานที่ชัดเจนหรือไม่ ● มีวิธีการแก้ไขปัญหาทันเวลาหรือไม่ ● มีกำหนดวิธีการรายงานเพื่อการควบคุมงานหรือไม่ ● มีการสั่งการเมื่อได้รับข้อมูลสารสนเทศจากการรายงาน หรือไม่ ● มีการสอบทานผลการปฏิบัติงานหรือไม่ ● มีการควบคุมการใช้ทรัพย์สินที่รัดกุมหรือไม่

ข้อมูลสารสนเทศ (Information) ประเด็นที่ต้องตอบคำถาม ● มีข้อมูลสารสนเทศภายในและจากภายนอก องค์การ เพียงพอและถูกต้องหรือไม่ใช้ใน การควบคุม ● มีความชัดเจนของการจัดประเภทข้อมูลและ การรายงานผลการปฏิบัติงานหรือไม่ ● ข้อมูลที่ใช้ในการวัดผลสำเร็จการปฏิบัติงาน มีความชัดเจนหรือไม่ ● มีรายละเอียดข้อมูลเพียงพอให้ผู้บริหารแต่ละระดับและ พนักงานที่เกี่ยวข้องนำไปใช้ได้อย่างมีประสิทธิผล ทันเวลา สามารถตรวจสอบรายละเอียดได้หรือไม่ ● ระบบสารสนเทศที่เป็นอยู่ในปัจจุบันให้การสนับสนุนต่อ การพัฒนาระบบควบคุมภายในที่ดีให้เกิดขึ้นหรือไม่

การติดต่อสื่อสาร (Communication) ผ่านสื่อ Electronic ลายลักษณ์อักษร ข้อมูล สารสนเทศ ข้อมูล สารสนเทศ ข้อมูล สารสนเทศ วาจา สื่อสาร ผ่านเครื่องมือ สื่อสารต่างๆ สารสนเทศ ข้อมูล ข้อมูล สารสนเทศ ข้อมูล สารสนเทศ การประชุม ระหว่างหน่วยงาน การประชุมภาย ในหน่วยงาน

การติดตามผล ( Monitoring ) เรื่องอะไร สิ่งที่บกพร่อง รายงานใคร การรายงาน สิ่งที่บกพร่อง เรื่องอะไร รายงานใคร ประเมินผล การปฏิบัติงาน แต่ละเรื่อง การติดตาม อย่างต่อเนื่อง ระยะเวลา / จำนวนครั้ง ขอบเขต / วิธีการประเมิน

การติดตามผล ( Monitoring ) ติดตาม อย่างต่อเนื่อง การบริหาร งานประจำวัน การตรวจสอบ ภายใน ติดตาม อย่างต่อเนื่อง การติดต่อสื่อสาร กับหน่วยงานต่างๆ ทั้งภายในและภายนอก เพื่อให้ทราบ ผลการปฏิบัติงาน โครงสร้างการ รายงานผล การปฏิบัติงาน การประชุมสัมมนา เพื่อค้นหาปัญหาหรือ วิธีการปรับปรุง การปฏิบัติงาน การพิจารณา ข้อมูลสารสนเทศ จากรายงาน

การติดตามผล (Monitoring ) ประเด็นที่ต้องตอบคำถาม ● ระบบการควบคุมภายในที่กำหนดขึ้นยังใช้ งานได้ดีหรือไม่ ● มีการประเมินการควบคุมเพื่อช่วยป้องกัน มิให้เกิดอุปสรรคและสามารถตรวจพบปัญหา หรือไม่ ● มีการตอบสนองต่อข้อเสนอแนะของ ผู้ตรวจสอบภายในมากน้อยเพียงใด ● มีการรวบรวมข้อเสนอแนะจากการสัมมนา การประชุมเพื่อนำไปปรับปรุงแก้ไขหรือไม่ ● มีการตรวจสอบพนักงานเป็นระยะเกี่ยวกับการปฏิบัติตาม กฎเกณฑ์ และมีการตรวจสอบความประพฤติหรือไม่ ● มีการประเมินประสิทธิผลของการตรวจสอบภายในหรือไม่ ทำบ่อยครั้งเพียงใด

ช่วยกันต่อภาพสร้างระบบ เพื่อให้ มสธ. เป็นองค์กรคุณภาพที่ยั่งยืน (STOU Total Quality Management)