โครงงานสุขภาพ วิชาสุขศึกษา เสนอ ดร. สุมน คณานิตย์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย แพทย์หญิงมยุรา เทพเกษตรกุล อายุรแพทย์เฉพาะทางโรคเบาหวานและระบบต่อมไร้ท่อ คลินิกเบาหวาน ร. พ. กรุงเทพพัทยา.
Advertisements

เรื่อง การบริหารจิตเพื่อสุขภาพ
ฟอร์มาดีไฮด์ และและพาราฟอร์มาดีไฮด์
อาหารและโภชนาการ โรงเรียนวัดสะแกงาม นายทรงสวัสดิ์ แสงมณี
ลักษณะเป็นผลึก ไม่มีสี ละลายได้ดีในน้ำ
ความกระด้างทั้งหมดของน้ำ
ชุดทดสอบ ปรอทแอมโมเนีย ในเครื่องสำอาง
สารเคมีกำจัดศัตรูพืช
สารโพลาร์ในน้ำมันทอดซ้ำ
Global Warming.
ด.ญ.กุลจิรา ยอดมณี เลขที่ 19 ม.3/1
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
เรื่อง วัฏฏะ 3 อาหารเสริมของวัยรุ่น
การดื่มแอลกอฮอล์และการบริหารจิตและการเจริญปัญญา
ผักปลอดภัยจากสารพิษ นางสาววรรณิศา เลี่ยมดำ ภาคพัฒนาการเกษตร
วิตามินบี 12 (Cobalamin)
โรคจากอาหารที่มีสารพิษจากรา
ตัวชี้วัดที่ 7 สารพิษตกค้างในอาหาร จังหวัดยโสธร ปี
โครงงานสุขภาพ การทดลองผงซักฟอก.
ผู้จัดทำ เสนอ ดร.สุมน คณานิตย์
สารฟอกขาวในถั่วงอก โครงงานสุขภาพ เสนอ ดร. สุมน คณานิตย์
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๓
ชื่อโครงงาน ค่า R.O.ในน้ำ
โครงงานสุขภาพ เรื่อง โฟมล้างหน้า
โครงงานสุขภาพ เรื่อง การทดลองยาสีฟัน
โรคที่เกิดจากสารเคมีที่เป็นพิษในอาหาร
โรคพยาธิ จัดทำโดย โรคพยาธิ ด.ช.พัสกร มะลิแก้ว เลขที่26
เรื่องโซดาไฟใน ผงซักฟอก
หอผู้ป่วยทารกแรกเกิด 2
หอผู้ป่วย อายุรกรรม หญิง 3.
การฉีดสีเข้าช่องไขสันหลัง
สารมลพิษ โชคชัย บุตรครุธ.
ผงชูรสแท้หรือปลอม.
สีผสมอาหาร Group’s Emblem.
ปัจจัยที่ก่อให้เกิดปัญหาต่อสุขภาพและสมรรถภาพ
สารเมลามีน.
สาขา เทคโนโลยีการอาหาร
สารอาหารที่ถูกมองข้าม
ผลกระทบต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อมจากสารมลพิษตกค้างยาวนาน POPs & HEALTH
การจำแนกชนิดผลิตภัณฑ์สุขภาพ
ด.ญ.พิม ขจรเวคิน ม.2/1 เลขที่ 11
ด้วย...โภชนบัญญัติ 9 ประการ
ไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย
ภาวะตัวเหลืองในทารกแรกเกิด
ภาวะไตวาย.
L O G O ชุดทดสอบ กรดเรติโน อิก ใน เครื่องสำอา ง กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวง สาธารณสุข.
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข
นส.ศิริพันธุ์ ไชยสุริยา รหัสนิสิต
โรคไตในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
การใช้สารเคมีในด้านเกษตรกรรม
อันตรายจากสารปรุงแต่งอาหาร
ทับทิม Pomegranate ผู้จัดทำ นางสาวอรอนงค์ บงกชศรีจินดา
มาทำความรู้จักกลูต้าไธโอนกันเถอะ
สรุปผลการใช้งบประมาณ 1 Unit 1 Project HP ประจำปีงบประมาณ 2553
โรคติดต่อทางพันธุกรรม
การจัดการขยะมูลฝอยในชุมชน
เข้าสู่ การนำเสนอเรื่อง โรคเหน็บชา
Tonsillits Pharynngitis
ระบบเทคโนโลยี.
สารปรุงแต่งอาหาร.
ผลไม้ รักษาโรคได้.
สำหรับสาวๆ ที่รักผมเป็นชีวิตจิตใจ ถ้าหาก คิดจะทำสีผมสักครั้ง เชื่อว่าคงไม่มีใครคิด ปุ๊บปั๊บแล้วก็ทำเลยหรอกค่ะ เราก็จะต้อง คิดแล้วคิดอีกว่าทำสีไหนถึงจะออกมาดูดี
ผลไม้เพื่อสุขภาพ จัดทำโดย ด.ญ.ดลยา มณีขัติย์ ชั้น ม.1/12 เลขที่ 18
ผลไม้ตระกูลเบอร์รี่ จัดทำโดย ด.ช. ธนันทร ดอกเกี๋ยง ม.1/2 เลขที่8 เสนอ
เรื่อง ประโยชน์ต่อสุขภาพ ของใบบัวบก
มารู้จัก “ขยะมูลฝอย” กันเถอะ
สาเหตุของโรคอ้วนและการแก้ไขปัญหา
ระบบขับถ่าย เรื่อง สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
โรคเบาหวาน เป็นชื่อของกลุ่มอาการของโรค ที่ร่างกายไม่สามารถใช้น้ำตาลได้
โครงงานวิทยาศาสตร์.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงงานสุขภาพ วิชาสุขศึกษา เสนอ ดร. สุมน คณานิตย์ โครงงานเรื่อง สารบอแรกซ์

โครงงาน ทดสอบสาร บอแรกซ์ในอาหาร

คณะทำงาน ด.ญ.ณัฐมน วิเศษสันติกุล เลขที่16 ชั้น ม.1/5 ด.ญ.ณัฐมน วิเศษสันติกุล เลขที่16 ชั้น ม.1/5 ด.ช. แทนไท อดิศัยมนตรี เลขที่22 ชั้น ม.1/5 ด.ญ. ศิรดา ชัยสุตานนท์ เลขที่46 ชั้นม.1/5 ด.ช. สมัชญ์ แก้วรากมุข เลขที่49 ชั้นม.1/5 ด.ญ. อริสรา นัยบุตร เลขที่59 ชั้นม.1/5

แนวคิด ในอาหารนั้นอาจมีสารปนเปื้อนมากมายที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ โดยเฉพาะอย่างยิ่งสารบอแรกซ์ซึ่งสารนี้เป็นโทษต่อร่างกายมนุษย์ โทษของสารบอแรกซ์ต่อร่างกาย ดังนี้ เกิดพิษสะสมในร่างกาย จะมีอาการเบื่ออาหาร อ่อนเพลีย ระบบย่อยอาหารทำงานผิดปกติ กรวยไตอักเสบ ถ้าสะสมในร่างกายมากเกินไปอาจมีอันตรายถึงแก่ชีวิต

วัตถุประสงค์ ต้องการทราบว่า ภายในโรงเรียนสตรีวิทยา๒ มีอาหารที่ปนเปื้อนสารบอแรกซ์หรือไม่อย่างไร

อุปกรณ์ที่ใช้ในการทดสอบสารบอแรกซ์ 1.หลอดหยด 2. ช้อนพลาสติก 5.น้ำยาทดสอบสารบอแรกซ์ 3.แก้วพลาสติก 4.กระดาษขมิ้น

เตรียมอาหารที่เราต้องการทดสอบ

ขั้นตอนการดำเนินงาน ขั้นตอนการดำเนินงาน ขั้นตอนที่1 สับอาหารออกเป็นชิ้นเล็กๆเท่าหัวไม้ขีดไฟ

ขั้นตอนการดำเนินงาน ขั้นตอนที่2 ตักอาหารใส่ลงในถ้วยพลาสติก (ปริมาณ1ช้อนชา)

ขั้นตอนการดำเนินงาน ขั้นตอนที่3 หยดน้ำยาทดสอบสารบอแรกซ์ให้ท่วมอาหาร

ขั้นตอนการดำเนินงาน ขั้นตอนที่4 ใช้ช้อนพลาสติกคน

ขั้นตอนการดำเนินงาน ขั้นตอนที่5 จุ่มกระดาษขมิ้นลงในสารที่เราจะทดสอบ ครึ่งแผ่น

ขั้นตอนการดำเนินงาน ขั้นตอนที่6 นำกระดาษขมิ้นที่จุ่มสารแล้ว มาตากแดดไว้ประมาณ10นาที

การสรุปผลว่าสารนั้นมีสารบอแรกซ์หรือไม่ คือ 1.) ถ้ากระดาษขมิ้นไม่เปลี่ยนสี แสดงว่าอาหารชนิดนั้นไม่มีสารบอแรกซ์ 2.) ถ้ากระดาษขมิ้นเปลี่ยนสี จากสีเหลืองเปลี่ยนเป็นสีแดงหรือสีส้ม แสดงว่าอาหารชนิดนั้นมีสารบอแรกซ์

ผลการดำเนินงาน

ร้านอาหารภายในโรงเรียน ร้านซีพี ผลคือ ไม่มีสารบอแรกซ์ ผลการดำเนินงาน ร้านอาหารภายในโรงเรียน ร้านซีพี ผลคือ ไม่มีสารบอแรกซ์

ร้านลูกชิ้น ซุ้มสีฟ้า ผลคือ ไม่มีสารบอแรกซ์ ผลการดำเนินงาน ร้านลูกชิ้น ซุ้มสีฟ้า ผลคือ ไม่มีสารบอแรกซ์

ประโยชน์ที่ได้รับ 1.ได้รู้ว่าอาหารในโรงเรียนที่นำมาทดสอบไม่มีสารบอแรกซ์ปนอยู่ 2.หลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารที่มีสารบอแรกซ์ปนอยู่ 3.ได้ฝึกการทำงานเป็นกลุ่ม