กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คณิตคิดเร็วโดยใช้นิ้วมือ
Advertisements

ที่ โรงเรียน เฉลี่ย 1 บ้านหนองหว้า บ้านสะเดาหวาน
ยินดีต้อน เข้าสู่ โครงงาน.
พลังงานในกระบวนการทางความร้อน : กฎข้อที่หนึ่งของอุณหพลศาสตร์
การซ้อนทับกัน และคลื่นนิ่ง
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา เรื่อง โภชนบัญญัติ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ตัวเรา
สุขบัญญัติ 10 ประการณ์ 1. ดูแลรักษาร่างกายและของใช้ให้สะอาด
โครงงาน กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
โครงงาน กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
โครงงาน กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
การเจริญเติบโตของวัยรุ่น
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
โครงงาน กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
โครงงานกินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
โครงงานสุขภาพ รายชื่อผู้จัดทำ ด.ญ. กนกภรณ์ คุ้มโนนคร้อ ม.1/5 เลขที่ 1
โครงงาน กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
โครงการกินอยู่อย่างพอเพียง
โครงงานสุขภาพ สมาชิกกลุ่ม ฟิชโช 1. ด.ญ.กัญญาณัฐ โอบอ้อม เลขที่ 5 ม.1/15 2. ด.ช.ชลกวิน วัตรศิริทรัพย์ เลขที่ 12 ม.1/15 3. ด.ช.ธณัติ คิว เลขที่ 18 ม.1/15.
เรื่อง โครงงานสุขภาพ กลุ่ม C.A.L.I.N สมาชิก:
โครงงาน กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
การดูแลการเจริญ เติบโต ในวัยรุ่น
โครงงาน กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
กาบรรยายแบบปฏิสัมพันธ์บน web casting ครั้งที่ 3 เรื่อง การดูแลสุขภาพผุ้สูงอายุ วันอาทิตย์ที่ 27 มิถุนายน 2553 เวลา น ณ ห้องสตูดิโอ 3 มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
ชื่อโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือด
15 มาตรการรักษาสุขภาพ มีข้อแนะนำดีๆในเรื่องการรักษาสุขภาพ รับอากาศที่กำลังแปรปรวนกันสุดๆ ใครภูมิคุ้มกันไม่ดีอาจจะจอดได้ นี่คือ 15 มาตรการที่น่าสนใจ.
ยินดีต้อนรับ สู่..ตึกโรคปอด.
การดูแลสุขภาพเพื่อพัฒนาบุคลิกภาพ
เรื่อง ความรู้เกี่ยวกับการจัดเก็บภาษีสุรา
การบ้าน แซมเปิลสเปซ.
สาขา เทคโนโลยีการอาหาร
การดำเนินงานอาชีวเวชศาสตร์: แพทย์ที่ผ่านการอบรม
แนวทางการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
โครงงาน กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สิงหาคม.
ข้อมูลเศรษฐกิจการค้า
การเลื่อนเงินเดือนในระบบใหม่
ความก้าวหน้าระดับความสำเร็จ การปฏิบัติราชการของปฏิรูปที่ดิน จังหวัด 5 ครั้ง ณ 30 มิถุนายน 2555 สำนักวิชาการและ แผนงาน.
ความก้าวหน้าระดับความสำเร็จ การปฏิบัติราชการของปฏิรูปที่ดิน จังหวัด 5 ครั้ง ณ 31 พฤษภาคม 2555.
ความก้าวหน้าระดับความสำเร็จ การปฏิบัติราชการของปฏิรูปที่ดิน จังหวัด 5 ครั้ง ณ 15 มิถุนายน 2555.
ด้วย...โภชนบัญญัติ 9 ประการ
การควบคุมน้ำหนัก เป็นการรักษาสุขภาพให้แข็งแรง และทำได้ไม่ยาก ถ้าเข้าใจ
บทที่ 9 โรคที่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพ
โดย กัณฐพิชชา สุดจันโท นักโภชนาการ งานโภชนาการ โรงพยาบาลศรีนครินทร์
เบาหวาน ผลิตโดย...กลุ่มงานสุขศึกษา โรงพยาบาลยะลา.
นักโภชนาการชำนาญการ ศูนย์อนามัยที่ 6
บทเรียนเพื่อการศึกษาวิชาสุขศึกษา
การเลือกอาหารเพื่อควบคุมน้ำหนัก
วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่6
ไม่ใช่ผู้ร้ายอย่างที่คิด ฝ่ายโภชนาการ รพ.ภูมิพลฯ
โรคเบาหวาน เบาหวาน คือภาวะที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ เนื่องมาจากร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลในเลือดไปใช้ได้ตามปกติ ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของต่อมไร้ท่อที่ตับอ่อนปล่อยฮอร์โมนที่เรียกว่า.
โรคทางระบาดวิทยาที่มีอัตราป่วยสูง 10 ลำดับแรกของจังหวัดเลย สะสมตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม – 29 เมษายน 2555.
โภชนาการโรคหลอดเลือดสมอง
สรุปผลการใช้งบประมาณ 1 Unit 1 Project HP ประจำปีงบประมาณ 2553
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
การลงข้อมูลแผนการสอน
วิสัยทัศน์ อบต. หนองหญ้า “ ส่งเสริมการศึกษา พัฒนาแหล่งน้ำ เสริมสร้างคุณภาพชีวิต ชุมชนเข้มแข็ง แหล่งท่องเที่ยวก้าวไกล สืบสานวัฒนธรรมไทย การบริหาร โปร่งใส.
โรคเบาหวาน ภ.
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
เฝ้าระวังภาวะโภชนาการเด็ก6-12 ปีจังหวัดเลย ปี2556
คนไทยไร้พุง งานสุขศึกษา โรงพยาบาลพะเยา.
การค้นในปริภูมิสถานะ
ณัชช์ธรณ์ หอมกลิ่นเทียน
สาเหตุของโรคอ้วนและการแก้ไขปัญหา
กราฟเบื้องต้น.
โรคเบาหวาน เป็นชื่อของกลุ่มอาการของโรค ที่ร่างกายไม่สามารถใช้น้ำตาลได้
กราฟเบื้องต้น.
รายงานความก้าวหน้าการตรวจติดตามประเมิน
ผลการประเมิน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี โครงงาน กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี รายชื่อสมาชิก ด.ญ. เข็มทิศ คำศรีจันทร์ ม.1/2 เลขที่ 4 ด.ญ. ธณิญา บุญแต่ง ม.1/2 เลขที่ 16 ด.ญ. บูรณา แถลงกิจ ม.1/2 เลขที่ 27 ด.ญ. ปานหทัย ศรีแก้ว ม.1/2 เลขที่ 31 ด.ช. พีรธร ทัตตะกิตติยา ม.1/2 เลขที่ 40

บทที่ 1 ปัญหาและสาเหตุ ชื่อ-นามสกุล น้ำหนัก ส่วนสูง BMI ลุกนั่ง ดันพื้น อ่อนตัว วิ่ง ผลการประเมิน ด.ญ. เข็มทิศ คำศรีจันทร์ 43 1.45 20.5 31 37 17 4.3 ดีมาก ด.ญ. ธณิญา บุญแต่ง 33 1.41 16.6 21 26 6 5.6 พอใช้ ด.ญ. บูรณา แถลงกิจ 1.42 18.3 29 8.5 5.4 ดี ด.ญ. ปานหทัย ศรีแก้ว 38 1.48 17.3 34 7 4.4 ด.ช. พีรธร ทัตตะกิตติยา 57 1.61 22.0 41 27 3 3.1 จะเห็นได้ว่า ด.ญ.ธนิญา บุญแต่ง และ ด.ญ.ปานหทัย ศรีแก้ว ที่น้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์สาเหตุอาจจะเกิดจากการบริโภคในปริมาณน้อยเกินไป ควรรับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ 3 มื้อ และออกกำลังกายสม่ำเสมอ สมาชิกคนอื่นๆ ที่มีน้ำหนักอยู่ในเกณฑ์ปกติ ก็ควรดูแลตัวเอง บริโภคและออกกำลังกายมากขึ้น พักผ่อนให้เพียงพอเพื่อให้ร่ายกายเติบโตได้เต็มที่

การเปลี่ยนแปลงการเจริญเติบโตในวัยรุ่น 1. การเปลี่ยนแปลงทางกาย บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง การเปลี่ยนแปลงการเจริญเติบโตในวัยรุ่น 1. การเปลี่ยนแปลงทางกาย 2. การเปลี่ยนแปลงด้านจิตใจ แนวทางในการพัฒนาตนเองให้เจริญเติบโตสมวัย ควรใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์หรือทำกิจกรรมทีเหมาะสมกับวัย รวมถึงการออกกำลังกายและดูแลสุจภาพของตัวเองด้วย อาหารที่เหมาะสมกับวัยรุ่น สารอาหารที่วัยรุ่นต้องการ พลังงาน ขึ้นอยู่กับการเจริญเติบโตของร่างกายและกิจกรรมของวัยรุ่น โปรตีน มีความต้องการมากกว่าผู้ใหญ่ เนื่องจากเป็นวัยที่มีการเจริญเติบโต เกลือแร่ และ วิตามิน

วิธีการดูแลน้ำหนักตัว 1. เลือกอาหาร โดยวัยนี้ร่างกายมีการใช้พลังงานน้อยลงจากกิจกรรมที่ลดลง จึงควรลดอาหารประเภทแป้ง น้ำตาล และไขมัน ให้เน้นอาหารโปรตีนจากเนื้อสัตว์ โดยเฉพาะปลา และเพิ่มแร่ธาตุที่ผู้สูงอายุมักขาด ได้แก่ แคลเซียม สังกะสี และเหล็ก ซึ่งมีอยู่ในนมถั่วเหลือง ผัก ผลไม้ ธัญพืชต่าง ๆ และควรกินอาหารประเภทต้ม นึ่ง ย่าง อบ แทนประเภทผัด ๆ ทอด ๆ จะช่วยลดปริมาณไขมันในอาหารได้ นอกจากนี้ควรหลีกเลี่ยงอาหารที่มีรสหวานจัด เค็มจัด และดื่มน้ำสะอาดอย่างน้อย 6-8 แก้วต่อวัน 2. ออกกำลังกาย หากไม่มีโรคประจำตัว แนะนำให้ออกกำลังกายแบบแอโรบิคสัก 30 นาทีต่อครั้ง ทำให้ได้สัปดาห์ละ 3-4 ครั้ง จะเกิดประโยชน์ต่อหัวใจและหลอดเลือดอย่างมาก โดยขั้นตอนการออกกำลังกายจะต้องค่อย ๆ เริ่ม มีการยืดเส้นยืดสายก่อน แล้วค่อย ๆ เพิ่มความหนักขึ้น จนถึงระดับที่ต้องการ ทำอย่างต่อเนื่องจนถึงระยะเวลาที่ต้องการ จากนั้นค่อย ๆ ลดลงช้า ๆ และค่อย ๆ หยุดเพื่อให้ร่างกายและหัวใจได้ปรับตัว 3. สัมผัสอากาศที่บริสุทธิ์ จะช่วยลดโอกาสการเกิดโรคได้ อาจเป็นสวนสาธารณะใกล้ ๆ สถานที่ท่องเที่ยว หรือการปรับภูมิทัศน์ภายในบ้านให้ปลอดโปร่ง สะอาด อากาศถ่ายเทสะดวก มีการปลูกต้นไม้ จัดเก็บสิ่งปฏิกูลให้เหมาะสม เพื่อลดการแพร่กระจายของเชื้อโรค และสามารถช่วยป้องกันโรคภูมิแพ้ หรือหอบหืดได้ 4. หลีกเลี่ยงอบายมุข ได้แก่ บุหรี่และสุรา จะช่วยลดโอกาสการเกิดโรคหรือลดความรุนแรงของโรคได้ ทั้งลดค่าใช้จ่ายในการรักษา และยังช่วยป้องกันปัญหาอุบัติเหตุ อาชญากรรมต่าง ๆ อันเป็นปัญหาใหญ่ของสังคมในขณะนี้ วิธีการดูแลน้ำหนักตัว การดูแลและควบคมน้ำหนักของตนเองให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน                     การดูแลและควบคุมให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานเป็นสิ่งสำคัญ  โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงวัยรุ่นที่มีการเปลี่ยนแปลงพัฒนาการทั้งทางร่างกาย  จิตใจ  อารมณ์และพัฒนาการทางเพศ  หากวัยรุ่นมีน้ำหนักที่ไม่ได้มาตรฐานแล้ว  ย่อมส่งผลให้เกิดโลกต่างๆตามมา การควบคุมน้ำหนัก                          การควบคุมน้ำหนักเป็นวิธีการรักษาน้ำหนักให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานที่คงที่  ไม่อ้วนหรือผอมเกินไปจนต้องลดหรือเพิ่มน้ำหนัก  อีกทั้งยังเป็นวิธีการรักษาสุขภาพของตนเองให้แข็งแรง  เพื่อลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรค  ดังนั้นการควบคุมน้ำหนักให้คงที่และอยู่ในระดับที่เหมาะสม  จึงเป็นสิ่งสำคัญในการดูแลสุขภาพของตนเอง  โดยเฉพาะวัยรุ่น  วิธีการสร้างเสริมและปรับปรุงสมรรถภาพทางกาย การสร้างสมรถภาพทางกายแต่ละครั้ง ให้ปฏิบัติตามขั้นตอน ดังนี้ การอบอุ่นร่างกาย ( Warm Up ) โดยการวิ่งเบาๆและบริหาร ข้อต่อทุกส่วนเป็นเวลาประมาณ 5 - 15 นาที ปฏิบัติกิจกรรมสร้างสมรรถภาพทางกาย โดยในแต่ละครั้งให้ปฏิบัติครอบคลุมในทุกๆด้าน ได้แก่ ความอดทนของระบบการหมุนเวียน โลหิต ความอดทนและแข็งแรงของกล้ามเนื้อและความอ่อนตัว และใน 1 สัปดาห์ ควรทำการสร้างเสริมสมรรถภาพทางกายอย่างน้อย3 - 5 วัน โดยให้ปฏิบัติวันละ 30 นาที ถึง 1 ชั่วโมง

ตารางเวลาการดำเนินกิจกรรม บทที่ 3 วิธีดำเนินงาน ตารางเวลาการดำเนินกิจกรรม กิจกรรม วันที่ดำเนินกิจกรรม เก่งจังกินผักได้ 2/1/13 4/1/13 6/1/13 10/1/13 12/1/13 14/1/13 17/1/13 19/1/13 กินเท่าไหร่ใช้ให้หมด การออกกำลังกาย  

บทที่ 4 ผลการดำเนินงาน ผลการวัดน้ำหนักและส่วนสูง(ทุกวันจันทร์) ชื่อ-นามสกุล 3/12/13 10/12/13 17/12/13 24/12/13 7/1/13 14/1/13 21/1/13 ด.ญ. เข็มทิศ คำศรีจันทร์ 43/1.45 44/1.46 43/1.46 42/1.46 43/1.47 ด.ญ. ธณิญา บุญแต่ง 33/1.43 32/1.44 33/1.44 34/1.44 34/1.45 35/1.46 34/1.46 ด.ญ. บูรณา แถลงกิจ 37/1.42 36/1.42 36/1.43 37/1.43 39/1.43 38/1.43 38/1.44 ด.ญ. ปานหทัย ศรีแก้ว 38/1.48 39/149 37/1.49 38/1.49 36/1.50 ด.ช. พีรธร ทัตตะกิตติยา 57/1.64 59/1.64 58/1.65 581.66 59/1.66 60/1.67 ผลการทดความสมรรถภาพทางด้านร่างกายเทอม 1 และ เทอม2 ชื่อ-นามสกุล น้ำหนัก ส่วนสูง ลุกนั่ง ดันพื้น อ่อนตัว วิ่ง ด.ญ. เข็มทิศ คำศรีจันทร์ 43/43 1.45/1.47 31 37/40 17 4.3/4.16 ด.ญ. ธณิญา บุญแต่ง 33/34 1.41/1.46 21/23 26/28 6/1 5.6/5.54 ด.ญ. บูรณา แถลงกิจ 37/38 1.42/1.44 29/28 33/32 8.5/8 5.41/5.43 ด.ญ. ปานหทัย ศรีแก้ว 38/36 1.48/1.50 34/34 31/36 7/6 4.39/4.29 ด.ช. พีรธร ทัตตะกิตติยา 57/60 1.61/1.67 41/44 27/28 3/6 3.1/3.05

บทที่ 5 สรุปผลและอภิปรายผลการดำเนินงาน ผล สำเร็จบางส่วน ด.ญ.ธนิญา เพิ่มน้ำหนักตัวด้วยการกินอาหารครบทั้ง 5 หมู่ทำให้สามารถเพิ่มน้ำหนักตัวได้ ทำให้อยู่ในเกณฑ์มาตราฐานและ สมาชิกทุกคนมีผลการออกกำลังกายอยู่ในเกณฑ์ดีและมีการพัฒนามากขึ้น เนื่องจากมีการออกกำลังกายอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ 1. ทานมื้ออาหารระหว่างวันที่พลังงานสูง และดื่มนมหรือน้ำผลไม้วันละ 1 แก้ว ทุกวัน 2. ทานมื้ออาหารที่มีไขมันในอาหารมากขึ้น โดยเลือกอาหารที่มีไขมันสูง และรับประทานผัก ผลไม้ด้วย 3. ออกกำลังกายเป็นประจำ แต่ต้องไม่หักโหมเพราะจะทำให้ร่างกายยิ่งผอมโทรมขึ้น 4. เริ่มปฎิบัติตั้งแต่วันที่ 26 พฤศจิกายน 2555 – 21 มกราคม 2556 5. ทำการชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงทุกวันจันทร์ 6. ทำการทดสอบสมรรถภาพทางกายของสมาชิกในกลุ่ม วันที่ 21 มกราคม 2556 7. นำข้อมูลทึ่ได้มาวิเคราะห์และสรุปผลการเพิ่มน้ำหนักของสมาชิกในกลุ่ม