โครงงาน กินอยู่อย่างพอเพียงเพี่อสุขภาพที่ดี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คณิตคิดเร็วโดยใช้นิ้วมือ
Advertisements

โดย แพทย์หญิงมยุรา เทพเกษตรกุล อายุรแพทย์เฉพาะทางโรคเบาหวานและระบบต่อมไร้ท่อ คลินิกเบาหวาน ร. พ. กรุงเทพพัทยา.
ที่ โรงเรียน เฉลี่ย 1 บ้านหนองหว้า บ้านสะเดาหวาน
การใช้ถั่วมะแฮะในอาหารสุกรระยะเจริญเติบโต
ยินดีต้อน เข้าสู่ โครงงาน.
พลังงานในกระบวนการทางความร้อน : กฎข้อที่หนึ่งของอุณหพลศาสตร์
การซ้อนทับกัน และคลื่นนิ่ง
การบวก จำนวนเต็มบวก กับ จำนวนเต็มบวก
นวัตกรรมน่ารู้ นางสาวสินีนาฎ อุ่นใจเพื่อน
เรื่องการเจริญเติบโตและพัฒนาการที่เหมาะสมตามวัย และ การปฏิบัติตนให้เหมาะสม กับพัฒนาการทางด้านร่างกาย พลศึกษาและสุขศึกษา ป.4.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ตัวเรา
การเจริญเติบโตของมนุษย์
โครงงาน กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
โครงงาน กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
โครงงาน กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
โครงงาน กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
โครงงาน กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
โครงงาน กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
การเจริญเติบโตของวัยรุ่น
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
โครงงาน กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
โครงงานกินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
โครงงานสุขภาพ รายชื่อผู้จัดทำ ด.ญ. กนกภรณ์ คุ้มโนนคร้อ ม.1/5 เลขที่ 1
โครงงาน กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
โครงการกินอยู่อย่างพอเพียง
โครงงานสุขภาพ สมาชิกกลุ่ม ฟิชโช 1. ด.ญ.กัญญาณัฐ โอบอ้อม เลขที่ 5 ม.1/15 2. ด.ช.ชลกวิน วัตรศิริทรัพย์ เลขที่ 12 ม.1/15 3. ด.ช.ธณัติ คิว เลขที่ 18 ม.1/15.
กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
เรื่อง โครงงานสุขภาพ กลุ่ม C.A.L.I.N สมาชิก:
โครงงาน กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
การดูแลการเจริญ เติบโต ในวัยรุ่น
โครงงาน กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
โครงงานสุขศึกษา กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพ ที่ดี
กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ โรงเรียนบ้านหนองกุง อำเภอนาเชือก
การขอเบิกเงินนอกงบประมาณ
รายงานสรุปสถานการณ์น้ำ ประจำวันที่ 20 มิถุนายน 2557
การดำเนินงานอาชีวเวชศาสตร์: แพทย์ที่ผ่านการอบรม
โครงงาน กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
การประเมินภาวะโภชนาการ ในผู้ที่เป็นเบาหวาน
ข้อมูลเศรษฐกิจการค้า
งานอนามัยแม่และเด็ก ปี 2551
การเลื่อนเงินเดือนในระบบใหม่
สำนักวิชาการและแผนงาน
ประชุมผู้บริหารกรม ทรัพยากรน้ำ ครั้งที่ 4/2550 วันศุกร์ที่ 27 เมษายน 2550 เวลา น.
นางสาวอนุสรณ์ สนิทชน , CDT นักโภชนาการ โรงพยาบาลอุดรธานี
การควบคุมน้ำหนัก เป็นการรักษาสุขภาพให้แข็งแรง และทำได้ไม่ยาก ถ้าเข้าใจ
เบาหวาน ผลิตโดย...กลุ่มงานสุขศึกษา โรงพยาบาลยะลา.
นักโภชนาการชำนาญการ ศูนย์อนามัยที่ 6
การเลือกอาหารเพื่อควบคุมน้ำหนัก
โรคเบาหวาน เบาหวาน คือภาวะที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ เนื่องมาจากร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลในเลือดไปใช้ได้ตามปกติ ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของต่อมไร้ท่อที่ตับอ่อนปล่อยฮอร์โมนที่เรียกว่า.
การบูรณาการกับกิจกรรมเชิงรุก
โรคทางระบาดวิทยาที่มีอัตราป่วยสูง 10 ลำดับแรกของจังหวัดเลย สะสมตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม – 29 เมษายน 2555.
โภชนาการโรคหลอดเลือดสมอง
สรุปสถิติ ค่ากลาง ค่าเฉลี่ยเลขคณิต เรียงข้อมูล ตำแหน่งกลาง มัธยฐาน
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
สรุปผลสัมฤทธิ์ปีการศึกษา 2552 ชั้ น จำนว นสาระการเรียนรู้ นักเรี ยนทค ค. เพิ่มวสพ.พ. ศ.ศ. ดน ตรีง.ง. คอ ม. อ อ. เพิ่ม ป.1ป
ขั้นตอนการจัดนักศึกษาเข้าสังกัดสาขาวิชา
วิสัยทัศน์ อบต. หนองหญ้า “ ส่งเสริมการศึกษา พัฒนาแหล่งน้ำ เสริมสร้างคุณภาพชีวิต ชุมชนเข้มแข็ง แหล่งท่องเที่ยวก้าวไกล สืบสานวัฒนธรรมไทย การบริหาร โปร่งใส.
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
เฝ้าระวังภาวะโภชนาการเด็ก6-12 ปีจังหวัดเลย ปี2556
คนไทยไร้พุง งานสุขศึกษา โรงพยาบาลพะเยา.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา กุมภาพันธ์ 2554 งานระบาดวิทยา งานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองลำปาง.
ณัชช์ธรณ์ หอมกลิ่นเทียน
นโยบายองค์การบริหารส่วนตำบลศิลา อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น เรื่อง การสร้างสุขภาพประชาชน ในเขต อบต. ศิลา “ คนศิลากินดี อยู่ดี สุขภาพแข็งแรง ไม่มี ภาวะอ้วนลงพุง.
รายละเอียด ระดับความพึงพอใจ มาก ที่สุด (5) มาก (4) ปาน กลาง (3) น้อย (2) น้อย ที่สุด (1) ค่าเฉลี่ ย 1. ผู้เรียนชอบทำงานร่วมกับเพื่อ เมื่อเรียนวิชาระบบเครือข่าย.
โรคเบาหวาน เป็นชื่อของกลุ่มอาการของโรค ที่ร่างกายไม่สามารถใช้น้ำตาลได้
ผลการประเมิน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงงาน กินอยู่อย่างพอเพียงเพี่อสุขภาพที่ดี สมาชิกกลุ่ม ME-DOT 1.ด.ญ.เกวลิน ทองใบใหญ่ เลขที่ 3 2.ด.ญ.พิมพ์พิชชา เกษอารี เลขที่ 29 3.ด.ญ.พุทธิมน รัตนเสรีกุลชัย เลขที่ 33 4.ด.ช.สิรภพ อู่อรุณ เลขที่ 41 5.ด.ญ.อายุวรรณะ วรรณบุบผา เลขที่ 50 ห้อง ม.1/17

บทที่ 1ปัญหาและสาเหตุ เกวลิน นน.55 ส่วนสูง 155 ลุกนั่ง 24 ดันพื้น 22 อ่อนตัว 14 วิ่ง 5.29 ปัญหา ค่อนข้างท้วม สาเหตุ ไม่ค่อยออกกำลังกาย ไม่ค่อยทานผัก ผลไม้ พิมพ์พิชชา นน.60 ส่วนสูง 165 ลุกนั่ง 41 ดันพื้น 61 อ่อนตัว 16 วิ่ง 3.46 ปัญหา ไม่มีปัญหาอยู่ในเกณฑ์สมส่วน สาเหตุ ออกกำลังกายสม่ำเสมอ พุทธิมน นน.76 ส่วนสูง 169 ลุกนั่ง 26 ดันพื้น 30 อ่อนตัว 3 วิ่ง 5.23 ปัญหา ค่อนข้างท้วม สาเหตุ ไม่ค่อยออกกำลังกาย ชอบทานอาหารที่มีไขมัน สิรภพ นน.31 ส่วนสูง 150 ลุกนั่ง 34 ดันพื้น 34 อ่อนตัว 4 วิ่ง 4.30 ปัญหา ค่อนข้างผอม สาเหตุ ทานอาหารน้อยไม่ครบ 5 หมู่ นอนดึก อายุวรรณะ นน.51 ส่วนสูง 160 ลุกนั่ง 32 ดันพื้น 31 อ่อนตัว 12 วิ่ง 5.45 ปัญหา ไม่มีปัญหาอยู่ในเกณฑ์สมส่วน สาเหตุ ออกกำลังกายสม่ำเสมอ ทานอาหารครบ 5 หมู่

บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง 1.การเปลี่ยนแปลงการเจริญเติบโตในวัยรุ่น ส่วนสูงและน้ำหนักตัวเพิ่มขึ้นเร็ว แขนขายาว เด็กชายมีเสียงห้าวขึ้น มีหนวดขึ้น เด็กหญิงมีการเจริญเติบโตของเต้านม และจะมีประจำเดือน มีอารมณ์รุนแรงแต่อ่อนไหว ไม่เชื่อฟังพ่อแม่ 2.แนวทางในการพัฒนาตนเองให้เจริญเติบโตสมวัย ให้มีการเจริญเติบโตที่สัมพันธ์ระหว่างน้ำหนักและส่วนสูง โดยการทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ และออกกำลังกายเป็นประจำ 3.อาหารที่เหมาะสมกับวัยรุ่น เนื้อสัตว์ เนื้อปลา นม ไข่ ผัก ผลไม้ อาหารควรกินให้ครบ 5 หมู่ งดเว้นขนมกรอบขบเคี้ยว หรือน้ำหวาน น้ำอัดลม 4.วิธีการดูแลน้ำหนักตัว กินอาหารให้ครบ 5หมู่ และครบ 3 มื้อ เน้นผัก และผลไม้ ออกกำลังกายเป็นประจำ สม่ำเสมอ 5.วิธีการสร้างเสริมและปรับปรุงสมรรถภาพทางกาย ควบคุมน้ำหนักตัว เพิ่มความจุปอด เพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ เพิ่มความอ่อนตัว เพิ่มสมรรถภาพของระบบไหลเวียนเลือด

บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน ทานผัก ผลไม้ในละมื้ออาหารเพิ่มขึ้น ทานอาหารที่มีไขมันน้อย ลดอาหารที่มีลดหวาน ลดอาหารประเภททอด งดทานอาหารจานด่วน ออกกำลังกายเพิ่มขึ้น ทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ พักผ่อนให้เพียงพอ

บทที่ 4 ผลการดำเนินงาน น้ำหนัก/ส่วนสูง/ว/ด สมาชิก นน./สส. 3/11 10/11 17/11 24/11 1/12 8/12 15/12 22/12 เกวลิน 55/155 56/155 54/155 52/156 50/156 พิมพ์พิชชา 60/165 61/165 62/165 59/166 57/166 56/167 พุทธิมน 76/169 77/169 77/170 76/171 75/172 สิรภพ 31/150 32/150 33/150 32/151 34/151 35/151 36/152 35/153 อายุวรรณะ 51/160 52/160 53/160 53/161 52/161 51/161 สมาชิก น้ำหนัก ส่วนสูง ลุกนั่ง 1 นาที ดันพื้น อ่อนตัว วิ่ง800 เมตร 1 2 เกวลิน 55 50 155 156 24 22 27 14 5.29 6.09 พิมพ์พิชชา 60 56 169 172 41 45 61 16 17 3.46 3.51 พุทธิมน 76 75 165 167 26 40 30 35 3 5.23 5.20 สิรภพ 31 150 153 38 4 4.30 3.28 อายุวรรณะ 51 160 161 42 33 34 32 12 5.45 5.37

บทที่ 5 สรุปผลและอภิปรายผลการดำเนินงาน บทที่ 5 สรุปผลและอภิปรายผลการดำเนินงาน สรุปผล ถือว่าเป็นผลสำเร็จ สมาชิกกลุ่มคนที่ผอม น้ำหนักเพิ่มขึ้น คนที่เตี้ย มีความสูงเพิ่มขึ้น คนที่เริ่มท้วม น้ำหนักลดลง คนที่สมส่วนมีน้ำหนักและส่วนสูงเพิ่มขึ้นในอัตราที่เหมาะสม ส่วนการทดสอบสมรรถภาพมีทั้งเพิ่มขึ้น ลดลง และเท่าเดิม

บรรณานุกรม 1. https://sites.google.com/site/kruwiruttwk/kar-ce-rith-teibto-laea-phathnakar-khxng-way-run 2. http://www.thaigoodview.com/node/75351 3. http://webboard.yenta4.com/topic/180995 4. https://sites.google.com/site/bombam6653/bth-thi-1-krabwnkar-srang-serim-laea-darng-prasiththiphaph-khxng-rabb-prasath-laea-txm-ri-thx/1-5-naewthang-kar-phathna-tnxeng-hi-teibto-smway