การจัดทำระบบข้อมูลสุขภาพพื้นที่ : จังหวัดลำพูน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระเบียบวาระการประชุม คณะกรรมการวางแผนและ ประเมินผล สาธารณสุข จังหวัดลำปาง ครั้งที่ 5 / มิถุนายน 2553.
Advertisements

ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
งบกองทุนทันตกรรม ปีงบประมาณ 2554
นำเสนอโดย นางสงวนศรี พลดอน พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ กลุ่มงานเวชกรรมสังคม โรงพยาบาลปัตตานี
สถานการณ์สำรวจอนามัยและสวัสดิการ (สอส.) ที่เกี่ยวข้องกับการแพทย์แผนไทย
ระบบข้อมูลการป่วย ระบบงานที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลสาเหตุภายนอก ที่ทำให้บาดเจ็บ ระบบรายงาน ระบบฐานข้อมูลผู้ป่วยในรายบุคคล.
นโยบายและงานเร่งด่วนของกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
แบ่งคณะกรรมการเป็น 2 ทีม ๆ ละ 10 คน ประกอบด้วย ประธาน (รอง ผอ. 2 ท่าน) มอบหมายกรรมการทำการประเมิน ท่านละ 1 ประเด็น (ระบุชื่อผู้รับผิดชอบใน 6 ประเด็น) แยกดูตามแผนก/พื้นที่ที่เกี่ยวข้อง.
แนวทางการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
บทบาท “ Six Key Function” ในจังหวัดภาคกลางตะวันตก
ความหมายและกระบวนการ
การดำเนินงานตำบลจัดการสุขภาพ ตำบลเขาซก อำเภอหนองใหญ่ ชลบุรี
ระบบอันพึงประสงค์และการจัดบริการ อาชีวอนามัยในสถานีอนามัย
ข้อมูลที่จัดเก็บประกอบด้วย
การสอบสวนโรคมือเท้าปากระบาดให้ได้คุณภาพ
ทะเบียนรับแจ้งข่าวการระบาด
วันที่ถ่ายทอด มีนาคม 2548 สถานที่ถ่ายทอด โรงแรมเทวราช อ.เมือง จ.น่าน
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
การสำรวจหา ค่ากลาง นโยบายรัฐบาล เรื่องการพัฒนาสุขภาพของ ประชาชน ประกาศเมื่อ 23 สิงหาคม จัดให้มีมาตรการสร้างสุขภาพโดยมี เป้าหมายเพื่อลดอัตราป่วย.
สรุปภาพรวมการดำเนินงานที่ผ่านมา
ความคาดหวังหลังการประชุมฯ ครั้งนี้
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
ระบบเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ (Diseases & Health Hazard Surveillance )
งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
จังหวัดนครปฐม.
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
บทสรุปสำหรับผู้บริหาร
กลุ่มข้อมูลข่าวสารสุขภาพ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
เขต 15 เขต 15: เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง แม่ฮ่องสอน.
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน พฤษภาคม 2557 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน ตุลาคม 2556 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
การพัฒนาระบบการกระจายวัคซีน & รายงานผลงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
พี่เลี้ยงการพัฒนา หน่วยบริการปฐมภูมิ
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
แนวทางการดำเนินงานเกษตรกรปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข
โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่นราชนครินทร์
การประเมินคลินิกNCD คุณภาพ
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ
ผลการสำรวจความต้องการ ความ คาดหวัง และความพึงพอใจ ของภาคีเครือข่ายด้านการส่งเสริม สุขภาพและพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ในพื้นที่รับผิดชอบ ต่อศูนย์อนามัยที่
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
การดำเนินงานสุขภาพจิตเครือข่าย ในเขตสุขภาพที่10 ปีงบประมาณ 2558
นำเสนอแผนปฏิบัติการสาธารณสุข
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
สถานการณ์โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือนมิถุนายน 2553 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
นายแพทย์ชนินันท์ สนธิไชย 22 กันยายน 2553
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
กลุ่มที่ 11.
การดำเนินงานระบาดวิทยาปี 2558
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
ทิศทางการพัฒนางานสุขศึกษาและพฤติกรรมสุขภาพ
การพัฒนาระบบสารสนเทศโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
นวัตกรรม7สี ปันรัก ไกลโรค ปี2556
กลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สคร.1-12
ประชาชน “อุ่นใจ” มีญาติทั่วไทย เป็นทีมหมอครอบครัว
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
สถานการณ์โรคติดต่อ อำเภอกำแพงแสน
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การจัดทำระบบข้อมูลสุขภาพพื้นที่ : จังหวัดลำพูน กลุ่มที่ 1 สภาวะสุขภาพของผู้สูงอายุ

ความเป็นมา ปัจจุบันข้อมูลโรคที่สำคัญและมีการเก็บอยู่แล้วโดยหน่วยงานต่างๆมีเป็นจำนวนมาก ข้อมูลดังกล่าวได้แก่ ข้อมูลทั่วไป : อายุ ที่อยู่ ศาสนา สถานภาพสมรส สถานะสุขภาพทั่วไป : การตาย ความพิการ ภาระโรค สุขภาพเฉพาะประเด็น : เบาหวาน หัวใจและหลอดเลือด มะเร็ง สุขภาพจิต สุขภาพในช่องปาก ปัจจัยเสี่ยงที่เกี่ยวข้อง

ความเป็นมา ปัญหาของข้อมูลที่มีอยู่ มีผู้เก็บซ้ำกันหลายหน่วยงาน ข้อมูลที่เก็บยังอยู่กับผู้เก็บเป็นส่วนใหญ่ ยังไม่ได้นำมาประมวลผลรวมกัน หรือมีการประมวลผลรวมกันเฉพาะบางประเด็น ซึ่งอาจไม่ตรงความต้องการหรือตรงเวลา เข้าถึงยาก ข้อมูลบางประเด็นอาจยังไม่ถูกต้องหรือไม่ทันสมัย

วัตถุประสงค์ เพื่อทราบและวิเคราะห์ระบบข้อมูลสุขภาพที่มีอยู่ในปัจจุบัน จัดทำข้อเสนอและแนวทางเพื่อปรับปรุงระบบและหมวดหมู่ข้อมูลที่มีอยู่ ให้ลดความซ้ำซ้อน และครอบคลุมมากขึ้น จัดทำฐานข้อมูลสุขภาพและโรคระดับพื้นที่

แนวทางการทำงาน วิเคราะห์สถานการณ์ระบบข้อมูลสุขภาพที่มีอยู่ มีการจัดเก็บหรือไม่ ใครเป็นผู้จัดเก็บ อยู่ในฐานข้อมูลใด คุณภาพของข้อมูลเป็นอย่างไร ข้อมูลใดที่ควรจัดเก็บเพิ่ม เสนอแนวทางการจัดทำระบบข้อมูลสุขภาพที่สมบูรณ์

นำเข้าข้อมูลจากทะเบียนราษฎร์ ดำเนินการโดย อสม. PCU ข้อมูลที่ได้รับการแจ้งกลับจากโรงพยาบาลในเครือข่าย สรุป สสอ การส่งเสริมป้องกัน ข้อมูลการมารับบริการ ณ PCU สรุป สรุป CUP การให้บริการ โรคที่เฝ้าระวัง สสจ สรุป

ระบบการส่งต่อข้อมูล เอกสาร รายงานสรุปแบบ electronics ฐานข้อมูลที่แท้จริงยังอยู่ในรูปแบบ hard copy ที่ PCU หรือ รพช. แล้วแต่กรณี

ข้อมูลของสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 1

วิธีการเก็บข้อมูล ข้อมูลประชากร จากรายงานประชากรกลางปี สำนักทะเบียนกลาง มีวิธีการเก็บข้อมูลโดยเชื่อมข้อมูลจากสำนักทะเบียนกลาง ข้อมูลที่มาจากการสำรวจ จะมีวิธีการเก็บข้อมูลโดยเชื่อมข้อมูลจากฐานข้อมูล โดยใช้โปรแกรม Web Application ในการเชื่อมต่อข้อมูลข่าวสาร ซึ่งมีระยะเวลาในการเก็บรวบรวมข้อมูล ปีละ 1 ครั้ง

วิธีการเก็บข้อมูล ข้อมูลสถิติชีพ สูติบัตร มรณบัตร รายงานการปฏิบัติงานควบคุมกามโรค ( แบบ ก.1) รายงานสถานการณ์กามโรค ( แบบ ก.2 )

วิธีการเก็บข้อมูล สูติบัตร มรณบัตร สำนักทะเบียนกลาง จะมีวิธีการเก็บข้อมูลโดยการเชื่อมข้อมูลจากสำนักทะเบียนกลาง รายงานการปฏิบัติงานควบคุมกามโรค ( แบบ ก.1) รายงานสถานการณ์กามโรค ( แบบ ก.2 ) จะมีวิธีการเก็บข้อมูลในสรุปการปฏิบัติงานควบคุมกามโรค และสรุปงานสถานการณ์กามโรค Web สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ จะมีวิธีการเก็บข้อมูลตาม ข้อมูลการตายก่อนวัยอันควร ( YLL) และตามข้อมูลการสูญเสียด้านสุขภาพ ( DALY )

วิธีการเก็บข้อมูล รายงาน 12 แฟ้ม จะมีวิธีการเก็บข้อมูลจากข้อมูลผู้ป่วยใน 12 แฟ้ม จากโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุขทั่ว ระบบบัตรรายงาน ( รง.506 ) จะมีวิธีการเก็บข้อมูลจาการรวบรวมรายงานระบาดวิทยา โดยที่ข้อมูลทั้งหมดจะใช้โปรแกรม Web Application เป็นวิธีการเก็บข้อมูล ในระยะเวลาการรายงาน 1 ปี

วิธีการเก็บข้อมูล ข้อมูลโรค ข้อมูลโรคต่างๆ จะมีแหล่งที่มาของข้อมูลมาจากงานระบาดวิทยา ของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด โดยจะจัดทำขึ้นในรูปแบบรายงาน โดยแบ่งเป็น 2 ประเภท

วิธีการเก็บข้อมูล 1. โรคที่ต้องรายงานภายใน 24 ชั่วโมง ( 12 โรค ) 1. โรคที่ต้องรายงานภายใน 24 ชั่วโมง ( 12 โรค ) จะรายงานตามแบบฟอร์มรายงานโรคเร่งด่วนของแต่ละโรคโดยมีระยะเวลาการรายงาน จังหวัด ( ภายใน 24 ชั่วโมง ) เขต ( 1 สัปดาห์ )

วิธีการเก็บข้อมูล 2. โรคที่ต้องรายงานภายใน 1 สัปดาห์ ( 9 โรค + 1 โรค คือ Strepsusis) จะรายงานตามแบบฟอร์มรายงานโรค (E1) สำหรับโรคไข้เลือดออก สำหรับโรคอื่น รายงานตามจำนวนผู้ป่วย / ตาย โดยมีระยะเวลาการรายงาน จังหวัด ( 1 สัปดาห์ ) เขต ( 2 สัปดาห์ )

คุณภาพของข้อมูล ข้อมูลส่วนใหญ่เป็นข้อมูลที่มีอยู่แล้ว แต่ยังไม่มีการแยกกลุ่มผู้สูงอายุออกมาโดยเฉพาะ ผู้จัดเก็บในพื้นที่ วิธีการจัดเก็บ การคัดลอกสำเนาทะเบียนบ้าน ความละเอียดของข้อมูล ข้อมูลที่ต้องจัดเก็บเปลี่ยนแปลงบ่อย ทำให้ไม่สามารถพัฒนาวิธีการเก็บได้อย่างต่อเนื่อง

การปรับปรุงระบบข้อมูล มีความพยายามในการปรับปรุงระบบข้อมูลอย่างต่อเนื่อง ความริรเริ่มของสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 1 ความร่วมมือของมหาวิทยาลัยมหิดลกับศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กระทรวงสาธารณสุข

ข้อมูล ผู้จัดเก็บ ความถี่ คุณภาพ ชื่อ อสม เชื่อมโยงทะเบียนราษฎร์ ปีละ 1 ครั้ง ปานกลาง ดี การเป็นสมาชิกชมรมผู้สูงอายุ การเป็นโรคความดันโลหิต ความดันโลหิตที่วัด 3 ครั้งสุดท้าย เจ้าหน้าที่ สอ ตามที่นัดผู้ป่วย

สรุป : กลุ่มที่ 1 สภาวะสุขภาพของผู้สูงอายุ