การประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ภาควิชาโสต ศอ นาสิกวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 3 พฤษภาคม 2554
ประวัติความเป็นมา 1 มิถุนายน 2553 ได้มีการก่อตั้งภาควิชาโสต ศอ นาสิกวิทยา เนื่องจากคณะแพทยศาสตร์ให้จัดตั้งภาควิชาเพิ่ม โดยแบ่งจากภาควิชาจักษุ โสต ศอ นาสิกวิทยาเป็น 2 ภาควิชา ได้แก่ ภาควิชาจักษุวิทยาและภาควิชาโสต ศอ นาสิกวิทยา ภาควิชาโสต ศอ นาสิกวิทยาได้ให้บริการการตรวจรักษาผู้ป่วยด้านโสต ศอ นาสิกทั้งผู้ป่วยในและผู้ป่วยนอกรวมถึงการผ่าตัดด้วยเครื่องมือที่ทันสมัย
เป็นสถาบันผลิตบัณฑิต และบริการด้านสุขภาพได้มาตรฐานระดับประเทศ ภาควิชาโสต ศอ นาสิกวิทยา ปรัชญา วิสัยทัศน์ มุ่งเน้นการเรียนการสอน งานวิจัย และการให้บริการทางสุขภาพที่ตอบสนองความต้องการของสังคม เป็นสถาบันผลิตบัณฑิต และบริการด้านสุขภาพได้มาตรฐานระดับประเทศ
พันธกิจ พันธกิจ 1 2 3 ให้ความรู้ด้านโสต ศอ นาสิก เพื่อผลิตบัณฑิตแพทย์ ที่มีคุณภาพ ควบคู่กับความมีคุณธรรม จริยธรรม เป็นศูนย์กลางการบริการทางการแพทย์ด้านโสต ศอ นาสิก ที่มีคุณภาพ มีการบริหารจัดการภายในภาควิชาอย่างเป็นธรรม โปร่งใส่ สามารถตรวจสอบได้ 4
วัตถุประสงค์ มี 4 ด้าน ด้านการเรียนการสอน ด้านการวิจัย 1 2 3 ด้านการเรียนการสอน ด้านการวิจัย ด้านการบริการทางวิชาการและวิชาชีพ 4 ด้านการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม
ด้านการเรียนการสอน 1. เพื่อมีส่วนร่วมในการผลิตบัณฑิตแพทย์ ที่มีคุณภาพได้มาตรฐานตามเกณฑ์แพทยสภา 2. เพื่อจัดการเรียนการสอนด้านโสต ศอ นาสิก ให้ครอบคลุมตามเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพ 3. สร้างเสริมและพัฒนาอาจารย์ให้มีความรู้ต่อยอด ด้านโสต ศอ นาสิกวิทยา
ด้านการวิจัย วิจัย 1. เพื่อสร้างงานวิจัย ที่มีคุณภาพ สามารถนำมาพัฒนาการเรียน และก่อให้เกิดประโยชน์แก่สังคม 2. เพื่อเพิ่มสัดส่วนอาจารย์และบุคลากรที่ทำการวิจัย ด้าน โสต ศอ นาสิก
ด้านการบริการทางวิขาการและวิชาชีพ 1. 2. เพื่อให้บริการด้านวิชาการ ที่สอดคล้องกับ ความต้องการของสังคม เพื่อชี้แนะสังคมในการส่งเสริมและป้องกันโรคทางโสต ศอ นาสิก
ด้านการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม ส่งเสริมคุณธรรมและจริยธรรมให้กับบุคลากร ในภาควิชา สอดแทรกเนื้อหาด้านคุณธรรม จริยธรรม ในการเรียนการสอนให้แก่นิสิตแพทย์ ส่งเสริมให้บุคลากรในภาควิชาเข้าร่วมกิจกรรม วัฒนธรรม ประเพณีของคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ด้านการทำนุบำรุง ศิลปะ และ วัฒนธรรม
องค์ประกอบที่ 2 การผลิตบัณฑิต ตัวบ่งชี้ 2.2 อาจารย์ประจำที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก ภาควิชามีอาจารย์ประจำ จำนวน 4 คน อาจารย์มีวุฒิปริญญาเอก จำนวน 4 คน ตัวบ่งชี้ที่ 2.3 อาจารย์ประจำที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ ภาควิชาโสต ศอ นาสิกวิทยา มีอาจารย์ประจำ จำนวน 4 ท่าน (รวมลาศึกษาต่อ) ไม่มีอาจารย์ที่ดำรงตำแหน่ง รศ. และ ศ
ผลการประเมิน 3.00 คะแนน องค์ประกอบที่ 2 การผลิตบัณฑิต ตัวบ่งชี้ที่ 2.6 ระบบและกลไกการจัดการเรียนการสอน ภาควิชาโสต ศอ นาสิกวิทยา มีการดำเนินการเรื่องระบบกลไกการจัดการเรียนการสอนอย่างต่อเนื่องโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ส่งเสริมทักษะการเรียนรู้ด้วยตนเองและจากการปฏิบัติทั้งในและนอกห้องเรียน ผลการประเมิน 3.00 คะแนน
ผลการประเมิน 0 คะแนน องค์ประกอบที่ 4 การวิจัย ตัวบ่งชี้ 4.3 เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ ต่อจำนวนอาจารย์ประจำและนักวิจัย เนื่องจากเป็นภาควิชาที่ตั้งใหม่ จึงยังไม่มีงานวิจัยในภาควิชาและยังไม่มีแหล่งทุนทั้งภายในและภายนอก ผลการประเมิน 0 คะแนน
5.1 ระบบและกลไกการบริการทางวิชาการแก่สังคม องค์ประกอบที่ 5 การบริการและวิชาการแก่สังคม 5.1 ระบบและกลไกการบริการทางวิชาการแก่สังคม ภาควิชาโสต ศอ นาสิก วิทยา มีการกำหนดนโยบายการให้บริการวิชาการแก่สังคม ส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการจัดโครงการหรือกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ด้านโสต ศอ นาสิก
องค์ประกอบที่ 5 การบริการและวิชาการแก่สังคม 5.2 กระบวนการบริหารทางวิชาการให้เกิดประโยชน์ต่อสังคม ภาควิชาโสต ศอ นาสิกวิทยา มีกระบวนการบริหารทางวิชาการให้เกิดประโยชน์ต่อสังคมอย่างต่อเนื่องโดยมีการจัดอบรมทางวิชาการโดยจัดเป็น โครงการร่วมกับภาควิชาเวชศาสตร์ฟื้นฟู ให้ความรู้เรื่อง เวียนศีรษะกับการทำกายภาพบำบัด และเข้าร่วมโครงการ18เรื่องสุขภาพดี 18ปีคณะแพทยศาสตร์ โดยให้ความรู้เรื่องนอนกรน ณ เซ็นทรัลพลาซ่า พิษณุโลก ผลการประเมิน 3.50 คะแนน
18เรื่องสุขภาพดี 18ปีคณะแพทยศาสตร์ ให้ความรู้เรื่องนอนกรน โครงการ 18เรื่องสุขภาพดี 18ปีคณะแพทยศาสตร์ ให้ความรู้เรื่องนอนกรน ณ เซ็นทรัลพลาซ่า พิษณุโลก
โครงการร่วมภาควิชาโสต ศอ นาสิกวิทยาและ ภาควิชาเวชศาสตร์ฟื้นฟู ให้ความรู้เรื่อง “เวียนศีรษะกับการทำกายภาพบำบัด” ณ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าโพธิ์ จ.พิษณุโลก
องค์ประกอบที่ 9 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ ตัวบ่งชี้ที่ 9.1 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ การศึกษาภายใน ภาควิชาโสต ศอ นาสิกวิทยา มีระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษา เพื่อให้สอดคล้องกับระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาของคณะแพทยศาสตร์ โดยจัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะทำงานประกันคุณภาพการศึกษาของภาควิชา และมีการประชุมคณะทำงานฯ
องค์ประกอบที่ 9 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ กำหนดนโยบายและให้ความสำคัญโดยดำเนินการตามแนวทางของหน่วยประกันคุณภาพการศึกษาคณะแพทยศาสตร์ มีการวางแผนและนำผลประเมินคุณภาพในปีที่ผ่านมาเป็นข้อมูลสำคัญในการกำหนดเป้าหมายการพัฒนาปรับปรุงการทำงาน ส่งผลให้มีการพัฒนาผลการดำเนินงานตามตัวบ่งชี้ของแผน กลยุทธ์ทุกตัวบ่งชี้ ผลการประเมิน 5.00 คะแนน
ตารางสรุปการประเมินตนเองตามองค์ประกอบคุณภาพ เฉพาะตัวบ่งชี้ของ สกอ. (4 องค์ประกอบ 7 ตัวชี้วัด) คะแนนเฉลี่ย ปี 2554 ปีต่อไป องค์ประกอบที่ 2 การผลิตบัณฑิต 3.00 3.33 องค์ประกอบที่ 4 การวิจัย 1.00 องค์ประกอบที่ 5 การบริการทางวิชาการแก่สังคม 3.50 4.00 องค์ประกอบที่ 9 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ 5.00 คะแนนเฉลี่ยรวมทุกตัวบ่งชี้ 3.43
เป้าหมายการดำเนินการ ระยะสั้น กลาง ยาว 1. มีการจัดประชุมภาควิชาเดือนละ 1 ครั้งเพื่อร่วมกำหนดนโยบายและแผนปฏิบัติการเป็นระยะๆ 2. มีการติดตามและประเมินผลการดำเนินงานตามตัวบ่งชี้ 3. มีการวิเคราะห์ความสอดคล้องระหว่างกลยุทธ์แผนการดำเนินงาน, เป้าหมายกับยุทธศาสตร์ และแผนพัฒนา อย่างสม่ำเสมอ
เป้าหมายการดำเนินการ ระยะสั้น กลาง ยาว 4. มีการนำผลการประเมินและผลการวิเคราะห์มาปรับปรุงกลยุทธ์และแผนการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง 5. ส่งเสริมการพัฒนางานการเรียนการสอน โดยเน้นการศึกษาของอาจารย์ นิสิตและบุคลากรในคณะแพทยศาสตร์ 6. ส่งเสริมและสนับสนุนให้อาจารย์ขอตำแหน่งวิชาการ 7. ส่งเสริมและสนับสนุนให้อาจารย์ทำวิจัย
ขอบคุณค่ะ