การสัมมนา PULINET วิชาการ ครั้งที่ 4 23 มกราคม 2557

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
รายละเอียดวิชา ง การงานพื้นฐาน4(คอมพิวเตอร์2)
Advertisements

หัวข้อรายงาน และอาจารย์ที่ปรึกษาประจำกลุ่ม
NetLibrary จัดทำโดย งานบริการสารสนเทศ ฝ่ายบริการ สำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระ นครเหนือ.
By: Jirawat Promporn By: Jirawat Promporn Contact: TRAINING Dept. BOOK PROMOTION & SERVICE CO., LTD. Update Latest 23/04/51.
Bai Chak Group ภูมิใจเสนอ.
ACM คืออะไร หน้าจอหลัก
Computer Science (ScienceDirect e-Book)
ฐานข้อมูล Nursing Resource Center
วารสารออนไลน์ เฉพาะทางเกี่ยวกับโรคผิวหนัง
เทคนิคการอ่านรายงานการวิจัย
การค้นข้อมูล 1. ความหมายของสารสนเทศ (Information)
Dublin Core Metadata tiac. or
*เนื้อหาส่วนที่2 เครื่องมือช่วยการสืบค้น CMUL OPAC One Search
ปรับปรุงครั้งล่าสุด 30/03/50 โดย จิรวัฒน์ พรหม พร บริษัท บุ๊ค โปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส จำกัด แผนกฝึกอบรม ฐานข้อมูล.
การเผยแพร่บทความวิชาการจากรายงานวิจัย
หน่วยส่งเสริมและพัฒนาทางวิชาการ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
User’s guide. Emerald Fulltext เป็นผลิตภัณฑ์ของสำนักพิมพ์ MCB University Pressเป็นผลิตภัณฑ์ของสำนักพิมพ์ MCB University Press ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี 1996.
Seminar in computer Science
การเขียนขยายเค้าโครงเอกสารแต่ละบท ให้มีเนื้อหาสมบูรณ์
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
ตัวชี้วัดโครงการ บรรณารักษ์พบนักวิจัย
บริการตอบคำถามและช่วยการค้นคว้า มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
ฐานข้อมูลปูชนีย์วลัยลักษณ์ ปูชนียาจารย์
จดหมายเหตุมหาวิทยาลัยอิเล็กทรอนิกส์ กับระบบห้องสมุดอัตโนมัติ
การใช้ฐานข้อมูลออนไลน์ของอาจารย์และนักศึกษามหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง
“ลูกค้าสัมพันธ์” ก้าวใหม่ในการบริการห้องสมุด
สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
Annual Reviews โดย : จิรวัฒน์ พรหมพร ปรับปรุงครั้งล่าสุด 28/04/51 แผนกฝึกอบรมฐานข้อมูล บ. บุ๊ค โปรโมชั่น แอน เซอร์วิส จำกัด.
แอนดรอยด์และไอโอเอสแอปพลิเคชัน สำหรับวิทยานิพนธ์อิเล็กทรอนิกส์ และงานวิจัยอิเล็กทรอนิกส์ Android and IOS Applications for CMU e-Theses and CMU e-Research.
เมื่อแรกริ เริ่มมี และ มุม มสธ.ในอนาคต
คณาจารย์ระดับอุดมศึกษา รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
วันที่ เมษายน 2553 ณ สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
การนำเสนอผลงานสร้างสรรค์ดีเด่น
การนำเสนอผลงานสร้างสรรค์ดีเด่น
การสืบค้นฐานข้อมูล CNKI China National Knowledge Infrastructure
ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษากับการเรียนรู้ตลอดชีวิต
การใช้งานฐานข้อมูล ACM Digital Library
สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม คณะผู้บริหารจากมหาวิทยาลัยนครพนม
แนวทางการพัฒนางาน บริการชุมชนและส่งเสริมการใช้บริการ
การใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ภาษาไทย
หน่วยที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องกับการวิจัย
บทที่ 3 กระบวนการแสวงหาและนำเสนอสารสนเทศ
การทบทวนวรรณกรรมสำหรับนักวิจัย
สื่อการสอน : การทำรายการ 1 (2) รองศาสตราจารย์ปัญญา สุขแสน
สื่อการสอน : เว็บไซต์สำนักวิทย บริการ สถาบันราชภัฏ อุตรดิตถ์ รองศาสตราจารย์ปัญญา สุขแสน โปรแกรมวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศ ศาสตร์ ผู้อำนวยการสำนักวิทยบริการ.
โดย จิรวัฒน์ พรหมพร แผนกฝึกอบรมฐานข้อมูล Book Promotion & Service Co., Ltd. สรุป SpringerLink ปรับปรุงล่าสุด 10/03/51.
นางสาวธันยกานต์ สินปรุ
ฐานข้อมูล Science Direct
อาจารย์ระดับอุดมศึกษา รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
การประยุกต์ใช้คลังความรู้
การเขียนรายงานการวิจัย
ศ.ดร.สุมาลี สังข์ศรี มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
*เนื้อหาส่วนที่2 เครื่องมือช่วยการสืบค้น CMUL OPAC
การสืบค้นทรัพยากรห้องสมุด (OPAC: Online Public Access Catalog)
บทที่ 7 การศึกษาและ การนำเสนอสารสนเทศ
การเขียนรายงาน.
การแบ่งหนังสือออกตามลักษณะการจัดทำและความเหมาะสมของผู้อ่านแต่ละกลุ่ม
โดย สุกาญจนา ทิพยเนตร 1. สร้างสรรค์นวัตกรรมทางเทคโนโลยี สารสนเทศที่ยั่งยืนและมีประสิทธิภาพสูงที่ นำมาสนับสนุนกระบวนการจัดการความรู้ 2. มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างผู้เชี่ยวชาญ.
นอกจากบรรณานุกรมดังกล่าวแล้ว ยังแบ่งบรรณานุกรมโดยแยกย่อยได้ เช่น
จัดทำโดย เด็กชายสุวพิชญ์ สินธุแปง เลขที่ 14
การบรรยายเรื่อง การใช้ห้องสมุดและการสืบค้นข้อมูล
Knovel E-Books Database.
เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชาการใช้โปรแกรมกราฟิก
การดำเนินงานห้องสมุดเฉพาะ และศูนย์สารสนเทศ
การเขียนรายงานผลการวิจัย
การสืบค้นสารสนเทศ สื่อบุคคล - แบบสอบถาม - การสัมภาษณ์
Dissertation Full text เป็นการ สืบค้นด้วยระบบ IR-Web โดยมีขอบเขต เนื้อหา เป็นฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์ฉบับเต็ม อิเล็กทรอนิกส์ 3,850 ชื่อเรื่อง ที่สำนักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา.
บทที่ 5 การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
ความพึงพอใจต่อการมาใช้บริการห้องสมุด
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การสัมมนา PULINET วิชาการ ครั้งที่ 4 23 มกราคม 2557 การจัดการสารสนเทศดิจิทัล ชุดวิชา ตำรา มสธ. Digital Information Management for STOU Superseded Textbooks. นางสาวชลลดา หงษ์งาม ศูนย์เทคโนโลยีบรรณสารสนเทศ สำนักบรรณสารสนเทศ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช การสัมมนา PULINET วิชาการ ครั้งที่ 4 23 มกราคม 2557

ความสำคัญและความเป็นมาของโครงการ สำนักบรรณสารสนเทศ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมธิราช ตระหนักถึงคุณค่าและความสำคัญของชุดวิชาหรือตำราเรียนของ มสธ. ซึ่งเป็นภูมิปัญญา มสธ. ที่มีคุณค่าทางวิชาการอย่างมาก แม้ไม่ได้ใช้ในการเรียนการสอนในปัจจุบันแล้วก็ตาม แต่นับเป็นตำราในระดับอุดมศึกษาสำหรับการเรียนทางไกล เป็นนวัตกรรมแห่งการเรียนรู้ที่เกิดจากคณาจารย์ นักวิชาการและผู้ทรงคุณวุฒิในศาสตร์ต่างๆ สำนักบรรณสารสนเทศ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมธิราช จึงได้พัฒนาคลังปัญญา ตำรา มสธ. เพื่อให้สารสนเทศอันเกิดจากภูมิปัญญา มสธ. สามารถตอบสนองความต้องการของผู้ใช้ได้หลากหลายและยาวนานมากยิ่งขึ้น เพื่อเป็นแหล่งบริการ เผยแพร่และอนุรักษ์สารสนเทศ ภูมิปัญญาทางวิชาการของ มสธ. และเพื่อรองรับการศึกษาค้นคว้าทางอินเตอร์เน็ต

วัตถุประสงค์ของโครงการ 1. เพื่อพัฒนาคลังความรู้ภูมิปัญญา มสธ. ในด้านการจัดเก็บ การค้น การจัดการสารสนเทศดิจิทัลที่เป็นระบบ สะดวกและเข้าถึงได้ง่าย 2. เพื่ออนุรักษ์ภูมิปัญญาอันทรงคุณค่าจากงานเขียนของคณาจารย์ นักวิชาการและผู้ทรงคุณวุฒิ มสธ. อย่างยั่งยืน

การดำเนินงาน แบ่งเป็น 3 กลุ่มงาน

ขั้นตอนและวิธีการดำเนินการพัฒนาคลังปัญญา ตำรา มสธ.

ตารางกรอบระยะเวลาการดำเนินการแต่ละขั้นตอน ขั้นตอนการดำเนินการ ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. 1. คัดเลือก รวบรวม รายชื่อเอกสารชุดวิชา 2. ตรวจความซ้ำซ้อนของรายชื่อชุดวิชา มสธ. 3. ส่งเอกสารชุดวิชาไปแปลงให้อยู่ในรูปดิจิทัล 4. ทำรายการเมตะดาตา MODS กับ METS 5. พัฒนาระบบห้องสมุดดิจิทัลด้วยโปรแกรม GSDL 6. ออกแบบและเผยแพร่เว็บไซต์ 7. เผยแพร่และประชาสัมพันธ์การใช้งานคลังปัญญา ตำรา มสธ.

การสืบค้นข้อมูล การสืบค้นข้อมูล สามารถทำได้ 3 ช่องทาง คือ 1) สืบค้นจากชื่อเรื่อง (Title) 2) สืบค้นจากชื่อผู้แต่ง/ผู้รับผิดชอบ(Creator) 3) สืบค้นจากหัวเรื่อง (Subject)

ผลการสืบค้นหน้าแรก ระบบจะแสดงจำนวนและรายชื่อเอกสารชุดวิชาที่เกี่ยวข้องกับคำค้น

ผลการสืบค้นข้อมูล ผลการสืบค้นข้อมูล จะแสดงผลได้ 4 รูปแบบ คือ 1. การแสดงผลแบบสั้น (Short Record) 2. การแสดงผลแบบยาว (View Record) 3. การแสดงผลในรูปรายการ METS (View METS Record) 4. การแสดงผลรูปเอกสารฉบับเต็ม (View Full Text PDF)

1. การแสดงผลแบบสั้น (Short Record)

2. การแสดงผลแบบยาว (View Record)

3. การแสดงผลในรูปรายการ METS (View METS Record)

4. การแสดงผลรูปเอกสารฉบับเต็ม (View Full Text PDF)

สรุปผลการศึกษา และข้อเสนอแนะ สรุปผลการศึกษาที่ได้จากการจัดการสารสนเทศดิจิทัล เป็น 3 ประเด็น คือ 1. องค์ความรู้ที่ได้รับจากการจัดการสารสนเทศดิจิทัล 2. ข้อดี ข้อจำกัดของการจัดการสารสนเทศดิจิทัล 3. การตอบรับ (Feedback) ของผู้ใช้

1. องค์ความรู้ที่ได้รับจากการจัดการสารสนเทศดิจิทัลชุดวิชา ตำรา มสธ. องค์ความรู้ที่ได้รับ 3 ประการ ได้แก่ 1.1 การแปลงสารสนเทศ การแปลงสารสนเทศในรูปแบบดั่งเดิม คือ เอกสารตีพิมพ์ ให้อยู่ในรูปแบบสารสนเทศดิจิทัล (e-Book) 1.2 การทำรายการเมทาดาทา จุดมุ่งหมายของการจัดทำเมทาดาทาเพื่อบอกถึงคุณลักษณะและรายละเอียดของสารสนเทศเหล่านั้น 1.3 ห้องสมุดดิจิทัล เป็นห้องสมุดที่มีการจัดการและให้บริการเนื้อหาของเอกสารการสอนชุดวิชา มสธ. อยู่ในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์

2. ข้อดี ข้อจำกัดของการจัดการสารสนเทศดิจิทัลชุดวิชา ตำรา มสธ. 2.1 ข้อดี คือ การนำชุดวิชาทั้งเล่มและครบชุดมาแปลงเป็นรูปดิจิทัล โดยแบ่งเนื้อหาออกตามบท จะสะดวกต่อการใช้งาน ได้ข้อมูลครบถ้วน และเป็นการยืดอายุการใช้งานของชุดวิชา มสธ. ให้ยาวนานยิ่งขึ้น 2.2 ข้อจำกัด คือ การนำชุดวิชาทั้งเล่มและครบชุดมาแปลงเป็นรูปดิจิทัลจำเป็นต้องใช้พื้นที่ในการจัดเก็บจำนวนมาก จึงมีปัญหาเรื่องพื้นที่จัดเก็บข้อมูลไม่เพียงพอ

3. การตอบรับ Feedback ของผู้ใช้ ช่องทางในการรับ Feedback จากผู้ใช้ 1) ติชมแนะนำผ่านทางบรรณารักษ์งานบริการโดยตรง 2) ติชมแนะนำผ่านทางโทรศัพท์ 3) ติชมแนะนำผ่านทางสื่อสังคมออนไลน์ คือ Facebook สำนักบรรณสารสนเทศ *** สิ่งที่จะพัฒนาต่อไป - การจัดทำตัวนับจำนวนเก็บสถิติผู้เข้าใช้เว็บไซต์ รวมทั้งสถิติการอ่านเอกสาร

ประโยชน์ของการจัดการสารสนเทศดิจิทัลชุดวิชา มสธ. 1. ก่อให้เกิดการพัฒนาคุณภาพทางวิชาการในการผลิตเอกสารการสอนชุดวิชา แบบฝึกปฏิบัติชุดวิชา ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญในด้านการเรียนการสอน การวิจัย และการส่งเสริมบริการห้องสมุดมหาวิทยาลัย 2. ก่อให้เกิดการแพร่หลายขององค์ความรู้ที่เกิดจากภูมิปัญญา มสธ. ทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย ผ่านระบบห้องสมุดอัตโนมัติ