กระทำหน้าที่ตามเป้าหมายขององค์กรอย่างสมบูรณ์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
Advertisements

การบริหารจัดการเพื่อ พัฒนาผลการปฏิบัติงาน
ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
เกณฑ์คุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ
การปฏิบัติและจัดการงาน ให้มีประสิทธิภาพ
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
ที่มาของระบบควบคุมภายใน
นาวาอากาศตรีหญิง พรประภา โลจนะวงศกร
คณะผู้วิจัย ภาควิชา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
( สมุทรสงคราม สมุทรสาคร เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ )
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำแผนการพัฒนาและการปฏิบัติการ ของโครงการโดยเจ้าหน้าที่โครงการมีส่วนร่วม ปี พ.ศ.2552.
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
การเตรียมการนำเสนอผลงานของ PCT และระบบสำคัญ
HA คืออะไร วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
กระบวนการคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
สรุปการประชุม ครั้งที่ 1 วันที่ 4-5 เมษายน 2555 สรุปการประชุม ครั้งที่ 1 วันที่ 4-5 เมษายน 2555.
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
แนวคิด หลักการ ของการประเมินเพื่อการพัฒนา
COP PMQA ศูนย์อนามัยที่ 10 เชียงใหม่.
สะท้อนประสบการณ์ / ถอดบทเรียน
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
บทที่ 12 การเปลี่ยนแปลง และการพัฒนาองค์การ.
HA 2011 overall scoring และการนำไปใช้เพื่อพัฒนาคุณภาพรพ.
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
กลุ่มที่ ๓ เรื่อง โรคไม่ติดต่อ
สรุปประเด็นการประชุมสัมมนากลุ่มย่อย
การตรวจรับรองเกณฑ์คุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Certify FL) 1.
โรงพยาบาล หน่วยบริการ.
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
โครงการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA : Public Sector Management Quality Award) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
Participation : Road to Success
มาตรฐาน งานเทคนิคการแพทย์2551
ประโยชน์ต่อส่วนราชการ
ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติงาน (Operational Risk)
มาตรฐานการควบคุมภายใน
ผลลัพธ์การเรียนรู้:ผลการจัดการความรู้
ตามเกณฑ์มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ
การธำรงรักษาระบบคุณภาพหลังการรับรอง
Service Profile สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล 27 สิงหาคม 2551
บันได 3 ขั้น ความสำเร็จในการพัฒนาคุณภาพ
การเขียนเกณฑ์การประเมิน (Rubric)
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
:: Pitfall : การบริหารการพยาบาล ::
เทคนิคการจัดเวทีประชาคม
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
การวางแผนยุทธศาสตร์.
ประสบการณ์การบริหาร มหาวิทยาลัย ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๐. เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารมหาวิทยาลัย โครงสร้าง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รูปแบบการบริหารและขอบเขต อำนาจ.
ผู้อำนวยกลุ่มการเรียนรู้ (Learning Facilitator)
การเรียนรู้ ผ่าน SERVICE PROFILE
การพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง
สรุปประเด็น เรื่อง แนวคิดการจัดการรายกรณีเพื่อการดูแลต่อเนื่อง
คุณค่าคนทำงาน คือการทำงานให้มี คุณภาพ ตอบสนองความต้องการ ของผู้รับบริการทั้งภายนอกและ ภายในตามมาตรฐานวิชาชีพ เป้าหมายของการทำงาน คือ การ ให้บริการที่มี
แนวคิดบันไดขั้นที่ 2 สู่ HA สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล
กลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สคร.1-12
ให้โอกาสผู้เรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบ สร้างความมีวินัย การตรงต่อเวลา
ทำไมต้องทำ HA ? เพราะทำให้เกิดระบบงานที่ดี
โครงการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่ดำเนินการในปีงบประมาณ 2553
จุดเน้น ด้านการบริหารจัดการ
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
ALIVE NURSING RECORD ดร. วันทนา ถิ่นกาญจน์ สำนักวิชาพยาบาลศาสตร์
เรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กระทำหน้าที่ตามเป้าหมายขององค์กรอย่างสมบูรณ์ ทำความเข้าใจกับ HA กระทำหน้าที่ตามเป้าหมายขององค์กรอย่างสมบูรณ์ หัวใจการบรรลุเป้าหมายองค์กร คือ การเน้นผู้รับผลงานเป็นศูนย์กลาง การทำงานเป็นทีม การทบทวนประเมินตนเองทุกระดับ การปรับปรุงวิธีการทำงานอย่างต่อเนื่อง

ผู้รับผลงานเป็นศูนย์กลาง แนวคิด มีเป้าหมายเพื่อประโยชน์สุขของผู้ป่วย และผู้รับบริการ การดูแลแบบองค์รวม การทำมาตรฐานวิชาชีพมาสู่การปฏิบัติ การพิทักษ์ สิทธิ และศักดิ์ศรีของผู้รับบริการ

การทำงานเป็นทีม ครอบคลุม ทีมภายในหน่วยงาน ระหว่างหน่วยงาน ครอบคลุม ทีมภายในหน่วยงาน ระหว่างหน่วยงาน ระหว่างวิชาชีพ ระหว่างระบบงาน ในกลุ่มผู้บริหาร และผู้บริหารกับผู้ปฏิบัติงาน การทำงานเป็นทีม เปิดใจรับฟังกัน แลกเปลี่ยนข้อมูล ประสบการณ์ ปรึกษาอย่างไม่เป็นทางการ Grand Round ประชุมของทีมงาน

การทบทวนประเมินตนเอง การทบทวน (Review) การตรวจสอบ (Audit) การประเมิน (Assessment)

ก. ขจัดความเสี่ยง หรือสิ่งที่ไม่อยากให้เกิด หรือให้น้อยที่สุด เป้าหมาย ก. ขจัดความเสี่ยง หรือสิ่งที่ไม่อยากให้เกิด หรือให้น้อยที่สุด ข. การรักษาความคงเส้นคงวา ของการปฏิบัติงาน และผลลัพธ์ ค. เพื่อพัฒนาให้ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง

ในมุมมองของผู้รับผลงาน การทบทวน ในมุมมองของผู้รับผลงาน ในมุมมองของผู้ทำงาน ในมุมมองของวิชาชีพ ในมุมมองขององค์กร

วิธีการทบทวน เชิงปริมาณ เชิงคุณภาพ

สรุป

การพัฒนาการและการเรียนรู้ สร้างความตระหนักแก่เจ้าหน้าที่ ฝึกฝนทักษะของทีม คุณภาพเริ่มที่แต่ละคน คุณภาพคือการทำงานของเราให้ง่ายขึ้น

การพัฒนาการและการเรียนรู้ สร้างความตระหนักแก่เจ้าหน้าที่ (คิดเชิงบวก, ตื่นตัว, เห็นคุณค่า, ให้โอกาส, มีแรงจูงใจ) ฝึกฝนทักษะของทีม คุณภาพเริ่มที่แต่ละคน คุณภาพคือการทำงานของเราให้ง่ายขึ้น (ซ้ำซ้อน, ซับซ้อน, สูญเปล่า, สูญหาย, เสียเวลา, เสียโอกาส) คุณภาพ คือการตอบสนองต่อความต้องการของผู้รับบริการ คุณภาพ คือการทำหน้าที่ตามเป้าหมายขององค์กร / หน่วยงานสมบูรณ์ แผนดำเนินงานพัฒนาคุณภาพ

เครื่องชี้วัด ความสำเร็จ ขั้นที่ 1 ขั้นที่ 2 ขั้นที่ 3 ภาพรวม ใช้วิกฤติเป็นโอกาส เชิงรุก สร้างวัฒนธรรมคุณภาพ จุดเริ่ม นำปัญหามาทบทวนเพื่อแก้ไขปัญหา วิเคราะห์เป้าหมายและกระบวนการอย่างเป็นระบบ ประเมินระดับการปฏิบัติตามมาตรฐาน HA กระบวนคุณภาพ C-A-P-D (RM/QA) P-D-C-A(QA) C-A-P-D(CQI) องค์กรเรียนรู้และพัฒนา เครื่องชี้วัด ความสำเร็จ ปฏิบัติตามแนวทางที่กำหนด QA/CQI ที่สอดคล้องกับเป้าหมายหลักของหน่วยงาน เครื่องชี้วัดคุณภาพที่ดีขึ้น มาตรฐาน HA ไม่เน้นมาตรฐานHA มาตรฐาน HA ที่จำเป็นและปฏิบัติได้ไม่ยาก มาตรฐาน HA ครบถ้วน ประเมินตนเอง เพื่อป้องกันความเสี่ยง(ไม่เน้นแบบฟอร์ม) เพื่อการหาโอกาสพัฒนา เพื่อสังเคราะห์การพัฒนาและผลที่ได้รับ ความครอบคลุม ครอบคลุมปัญหาที่เกิด ครอบคลุมกระบวนสำคัญการทั้งหมด เชื่อมโยงกระบวนการและระบบงาน

กลวิธีการคิดค้นมาตรการแก้ไขปัญหา คัดกรอง คิดสร้างสรรค์ มาตรการป้องกัน ข้อมูล Input Process Monitor Root Cause Analysis มาตรการแก้ไข Existing Guidelines

โอกาส ความเป็นจริง วิชาชีพ ผู้รับผลงาน ศักยภาพ ความคาดหวัง มาตรฐาน ความต้องการ โอกาสพัฒนา บรรทัดฐาน ปัญหา ปัญหา สภาพปัจจุบัน ความเสี่ยง ความสูญเสีย