โครงสร้างควบคุม 1. โครงสร้างควบคุมแบบวนทางเลือก 1.1 คำสั่ง if 2. โครงสร้างควบคุมแบบวนซ้ำ 2.1 คำสั่ง while 2.2 คำสั่ง do…while 2.3 คำสั่ง for
โครงสร้างควบคุมแบบทางเลือก(การใช้คำสั่ง if) คำสั่ง1; หรือ if(เงื่อนไข) { คำสั่ง1; คำสั่ง2; }
if(เงื่อนไข) คำสั่ง1; else คำสั่ง2; หรือ if(เงื่อนไข) { คำสั่ง1 ; คำสั่ง2; } else คำสั่ง3; คำสั่ง4;
if (เงื่อนไข) คำสั่ง1; else if(เงื่อนไข) คำสั่ง2; else คำสั่ง3;
if (เงื่อนไข) คำสั่ง1; else if(เงื่อนไข) คำสั่ง2; else คำสั่ง3;
(เงื่อนไข) ตัวดำเนินการเปรียบเทียบ เครื่องหมาย ความหมาย ตัวอย่าง1 ตัวอย่าง2 > มากกว่า a>b a>10 >= มากกว่าหรือเท่ากับ a>=b a>=10 < น้อยกว่า a<b a<10 <= น้อยกว่าหรือเท่ากับ a<=b a<=10 == เท่ากับ a==b a==10 != ไม่เท่ากับ a!=b a!=10
ตัวดำเนินการตรรกะ ตัวดำเนินการตรรกะ สัญลักษณ์ ตัวอย่าง และ && a>=5 && a<=10 หรือ || a<5 || a > 10 นิเสธ ! !a
แบบฝึกหัดท้ายชั่วโมง จงเขียนผังงานและโปรแกรมรับเลขจำนวนเต็ม 3 จำนวน และแสดงค่าตัวเลขที่มีค่าสูงสุด หมายเหตุ ยกตัวอย่างเช่น ถ้า a มากกว่า b และ a มากกว่า c แสดงว่า a เป็นเลขที่มีค่าสูงสุด เพิ่มเติม (a มากกว่า b และ a มากกว่า c) (a>b && a>c)
แบบฝึกหัดท้ายชั่วโมง จงเขียนผังงานและโปรแกรม รับชื่อ นามสกุล รหัสนักศึกษา คะแนนสอบรวม และคะแนนเต็ม หากนักศึกษาสอบได้ มากกว่า 60% ให้แสดงผลชื่อ นามสกุล รหัสนักศึกษา คะแนน และผลสอบว่าผ่าน
แบบฝึกหัดท้ายชั่วโมง จงเขียนผังงานและโปรแกรมหารเลข 2 จำนวน โดยโปรแกรมต้องตรวจสอบได้ว่าตัวหารเป็น "0" หรือไม่ ถ้าตัวหารไม่เป็น "0" ให้แสดงผลลัพธ์จากการหาร ถ้าตัวหารเป็น "0" ให้แสดงข้อความ “ERROR”