รูปแบบของเว็บเพจ. รูปแบบของเว็บเพจ รูปแบบของเว็บเพจ 1. เว็บเพจในแนวตั้ง.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คำสั่งเริ่มต้น รูปแบบ. <HTML>. </HTML>
Advertisements

บทที่ 7 การใช้ตัวอักษร สื่อชุดนี้เป็นลิขสิทธิ์ของสำนักพิมพ์วังอักษร ใช้เพื่อการศึกษาเท่านั้น.
บทที่ 6 การใช้สีสำหรับเว็บไซต์
บทที่ 3 การออกแบบระบบเนวิเกชัน
วิชาหัวข้อเรื่องที่ทันสมัยทางวิทยาการคอมพิวเตอร์ 6 มกราคม 2555
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
บทเรียนคอมพิวเตอร์แบบมัลติมีเดีย
Dreamweaver Adobe การสร้างโฮมเพจด้วย โปรแกรม 4 โดย.. ไชยยงค์ กงศรี
นักศึกษาทุกคน วิชา การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ทางการแพทย์
การเขียนบันทึก.
1 ข้อแนะนำในการสร้าง Web โครงการ โดย ดร. วรินทร์ สุวรรณวิสูตร อาจารย์ผู้ประสานงานวิชาโครงการ.
รายวิชา การเขียนเว็บไซต์
รศ. ดร. สมศักดิ์ คงเที่ยง
สิ่งพิมพ์ จัดทำเพื่อผู้อ่านเฉพาะกลุ่ม (ภายในหรือภายนอกองค์กร)
การเขียนผังงาน.
1 ข้อแนะนำในการสร้าง Web โครงการ ดร. วรินทร์ สุวรรณวิสูตร ( ไม่ยืนยันว่าครบถ้วนตามหลักวิชาการ )
การประเมินคุณภาพสารสนเทศ
   ฮาร์ดแวร์ (Hardware)               ฮาร์ดแวร์เป็นองค์ประกอบสำคัญของระบบสารสนเทศ หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์รอบข้าง รวมทั้งอุปกรณ์สื่อสารสำหรับเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เข้าเป็นเครือข่าย.
องค์ประกอบของมัลติมีเดีย
องค์ประกอบและประโยชน์ของมัลติมิเดีย
หลักการออกแบบของ ADDIE model ADDIE model
นายชะเวรินทร์ อินสุวรรณ เลขที่ 12 ม.5/4
หนังสือไร้กระดาษ.
แผนผัง FlowChart Flow Chart คือ ขั้นตอนที่นำผลที่ได้จากการกำหนดและการ วิเคราะห์ปัญหามาเขียนเป็นแผนภาพหรือสัญลักษณ์ ประโยชน์ของผังงาน -ช่วยลำดับขั้นตอนการทำงานของโปรแกรม.
วิชา การออกแบบและพัฒนาซอฟต์แวร์
ปฏิบัติการที่ 3 : การสร้างโฮมเพจอย่างง่าย
Poster Presentation โดย สำหรับ การประชุม สคร.5 รศ.นพ.สมพนธ์ ทัศนิยม
วันที่ เมษายน 2553 ณ สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
การพัฒนาเว็บด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป
ธุรกิจ จดหมาย.
การสร้างเว็บเพจ HTML.
การออกแบบและพัฒนาเว็บไซต์
การออกแบบสื่อการเรียนรู้
1 การอ่านตำรา การอ่านตำรา.
องค์ประกอบ ของการออกแบบเว็บไซท์ อย่างมีประสิทธิภาพ
Flow Chart INT1103 Computer Programming
Principle of Graphic Design
เว็บเพจและเว็บไซต์ webpage website
เอกสารประกอบรายงานการประชุมข้าราชการ สำนักงานสรรพสามิตพื้นที่อุบลราชธานี ครั้งที่ 11/2556 เมื่อวันศุกร์ ที่ 29 พฤศจิกายน 2556 ณ ห้องประชุม หน้าห้องฝ่ายปราบปราม.
การเขียนแบบเสนอหัวข้อโครงงาน
ซอฟต์แวร์.
โปรแกรมฐานข้อมูลที่นิยมใช้
Search Engine จัดทำโดย น. ส. กรรณิดา เดิมบางปิด เลขที่ 1 น. ส. เกศินี ศรีอินทร์สุทธิ์ เลขที่ 4 น. ส. เบญจวรรณ แซ่อั๊ง เลขที่ 51 1.
อาจารย์สถิตย์ กังวานณรงค์กุล มัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนมัธยมวัดนายโรง
HTML 1. รูปแบบพื้นฐานของ เอชทีเอ็มแอล
นางสาวเบญจมาศ รัตน์พิทักษ์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การนำเสนองาน.
เทคนิคการรวบรวมข้อมูล
เว็บเพจ (Web Page).
BC305 การวิเคราะห์และออกแบบระบบสารสนเทศ
การเขียนบทวิทยุกระจายเสียง. ขั้นตอนการเขียนบทรายการวิทยุ ขั้นเริ่มต้นแนวคิด (Begin with idea) จะเป็น การบอกแนวทาง ขอบเขตและการวาง แผนการผลิตในอนาคต.
HTML (Hyper Text Markup Language) HTML (Hyper Text Markup Language) เป็นภาษา มาตรฐานสากลที่ใช้นำเสนอข้อมูลแบบ ผสมผสานในการสื่อสารแบบ World-Wide- Web.

HOME PAGE.
 วัตถุประสงค์ของบทเรียน นับว่าเป็นส่วนสำคัญยิ่ง ต่อกระบวนการเรียนรู้ ที่ผู้เรียนจะได้ทราบถึงความ คาดหวังของบทเรียนจากผู้เรียน นอกจากผู้เรียนจะ ทราบถึงพฤติกรรมขั้นสุดท้ายของตนเองหลังจบ.
บทที่ สร้างงานเอกสารและการแก้ไข
การนำเสนองานด้วย PowerPoint อย่างมีประสิทธิภาพ
การเขียนรายงาน.
เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชาการใช้โปรแกรมกราฟิก
สารสนเทศ ข้อมูลและสารสนเทศ
แบบทดสอบ คือ... ชุดของข้อคำถามที่สร้าง ขึ้นเพื่อใช้วัดความรู้ สติปัญญา ความถนัด และ บุคลิกภาพของบุคคล โดย บุคคลนั้นจะตอบสนองโดย การแสดงพฤติกรรมใน รูปแบบต่างๆ.
การเขียนผังงาน ผังงาน (Flowchart)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
การออกแบบสื่อเพื่อการศึกษา ADDIE Model
หลักการออกแบบเว็บไซต์
สื่อการสอนการเขียนเว็บเพจ ด้วยภาษา HTML
บทที่ 5 การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
หลักการและขั้นตอน การออกแบบเว็บไซต์
วิชาคอมพิวเตอร์ คุณครูภาราดร ฟุ้งเฟื้อง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

รูปแบบของเว็บเพจ

รูปแบบของเว็บเพจ 1. เว็บเพจในแนวตั้ง

รูปแบบของเว็บเพจ 2. เว็บเพจในแนวนอน

รูปแบบของเว็บเพจ 3. เว็บเพจที่พอดีกับหน้าจอ

การกำหนดพื้นที่การแสดงผล การกำหนดพื้นที่เว็บเพื่อนำเสนอทางหน้าจอคอมพิวเตอร์ ภายในขนาด 760 x 420 Pixels การกำหนดพื้นที่เว็บเพื่อพิมพ์ออกมาทางเครื่องพิมพ์ ภายในขนาด 595 x 842 Pixels

พื้นที่เว็บเพื่อนำเสนอทางหน้าจอคอมพิวเตอร์

พื้นที่เว็บเพื่อพิมพ์ออกมาทางเครื่องพิมพ์

ตำแหน่งและส่วนประกอบ โฮมเพจ ชื่อเว็บไซด์หรือชื่อบทเรียน ลิงค์เชื่อมโยงไปยังส่วนต่างๆ ประกาศ/คำแนะนำเบื้องต้น ระบบลงทะเบียน ชื่อผู้สอน หน่วยงาน รายละเอียดเกี่ยวกับโปรแกรมที่เกี่ยวข้องและการตั้งค่าเพื่อการเรียกดูเนื้อหาที่สมบูรณ์ วันเวลาที่ทำการปรับปรุงแก้ไขเว็บไซด์ล่าสุด เคาน์เตอร์สำหรับนับจำนวนผู้เข้าใช้เว็บไซด์

ชื่อเว็บไซด์หรือชื่อบทเรียน

ลิงค์เชื่อมโยงไปยังส่วนต่างๆ

ประกาศ/คำแนะนำทางการเรียนเบื้องต้น

ระบบลงทะเบียน / ระบบเข้าออกชั้นเรียน

ชื่อผู้สอน หน่วยงาน การติดต่อกับผู้รับผิดชอบ

รายละเอียดเกี่ยวกับโปรแกรมที่เกี่ยวข้องและการตั้งค่า

วันเวลาที่ทำการปรับปรุงแก้ไขเว็บไซด์ล่าสุด

เคาน์เตอร์สำหรับนับจำนวนผู้เข้าใช้เว็บไซด์

ตำแหน่งและส่วนประกอบของ เว็บเพจ ชื่อเว็บหรือชื่อบทเรียน ชื่อหัวข้อหรือชื่อของเนื้อหา ในหน้านั้นๆ เลขหน้าหรือเฟรม ระบบเนวิเกชัน ส่วนนำเสนอเนื้อหา ส่วนล่าง

ตำแหน่งและส่วนประกอบของ เว็บเพจ ชื่อเว็บหรือชื่อบทเรียน ชื่อหัวข้อหรือชื่อของเนื้อหา ในหน้านั้นๆ เลขหน้าหรือเฟรม ระบบเนวิเกชัน ส่วนนำเสนอเนื้อหา ส่วนล่าง

ตำแหน่งและส่วนประกอบของ เว็บเพจ ชื่อเว็บหรือชื่อบทเรียน ชื่อหัวข้อหรือชื่อของเนื้อหา ในหน้านั้นๆ เลขหน้าหรือเฟรม ระบบเนวิเกชัน ส่วนนำเสนอเนื้อหา ส่วนล่าง

ตำแหน่งและส่วนประกอบของ เว็บเพจ ชื่อเว็บหรือชื่อบทเรียน ชื่อหัวข้อหรือชื่อของเนื้อหา ในหน้านั้นๆ เลขหน้าหรือเฟรม ระบบเนวิเกชัน ส่วนนำเสนอเนื้อหา ส่วนล่าง

ตำแหน่งและส่วนประกอบของ เว็บเพจ ชื่อเว็บหรือชื่อบทเรียน ชื่อหัวข้อหรือชื่อของเนื้อหา ในหน้านั้นๆ เลขหน้าหรือเฟรม ระบบเนวิเกชัน ส่วนนำเสนอเนื้อหา ส่วนล่าง

ตำแหน่งและส่วนประกอบของ เว็บเพจ ชื่อเว็บหรือชื่อบทเรียน ชื่อหัวข้อหรือชื่อของเนื้อหา ในหน้านั้นๆ เลขหน้าหรือเฟรม ระบบเนวิเกชัน ส่วนนำเสนอเนื้อหา ส่วนล่าง

ตำแหน่งและส่วนประกอบของ เว็บเพจ ชื่อเว็บหรือชื่อบทเรียน ชื่อหัวข้อหรือชื่อของเนื้อหา ในหน้านั้นๆ เลขหน้าหรือเฟรม ระบบเนวิเกชัน ส่วนนำเสนอเนื้อหา ส่วนล่าง

หลักการใช้สื่อสำหรับเว็บ ตัวอักษร (Text) ภาพกราฟิก (Graphic) ภาพเคลื่อนไหว (Animation) เสียง (Audio) และวีดิทัศน์ (Video)

ตัวอักษร (Text) ใช้ฟอนต์ที่มีอยู่ในเครื่องทั่วไป และไม่ควรจะมีตัวอักษรเกินกว่า 2 แบบ ใช้ตัวอักษรหลายขนาดเพื่อสร้างลำดับความสำคัญของข้อมูล แต่ก็ไม่ควรจะมีหลายขนาดเกินไป หลักเลี่ยงตัวอักษรตัวเอน เพราะอ่านยาก ใช้อักษรตัวหนาเพื่อเน้นประเด็นสำคัญๆ เท่านั้น ไม่ควรใช้ตัวขีดเส้นใต้สำหรับการเน้นข้อความ การจัดข้อความตัวอักษร ควรจัดแบบชิดซ้ายเพราะทำให้การอ่านสะดวกมากที่สุด ความยาวของข้อความแต่ละบรรทัดนั้น ไม่ควรยาวหรือสั้นเกินไป ภาษาไทย (55 - 60 ตัวอักษรหรือ 9 - 10 คำต่อบรรทัด) ภาษาอังกฤษ (28 ตัวอักษรหรือ 12 คำต่อบรรทัด) ไม่ควรใช้สีเกินกว่า 3 สีในแต่ละหน้า

2. ภาพกราฟิก (Graphic) ใช้ภาพให้เหมาะสมกับประเภทของไฟล์ ไฟล์กราฟิกประเภท GIF (Graphic Interchange Format) ให้ข้อมูลสีจำนวน 256 สี เหมาะกับกราฟิกที่ประกอบด้วยสีพื้นๆ และไม่ซับซ้อน ไฟล์กราฟิกประเภท JPEG (Joint Photographic Exports Group) ให้ข้อมูลสีได้มากถึง 16.7 ล้านสี เหมาะกับกราฟิกที่มีความละเอียดสูง GIF JPEG

3. ภาพเคลื่อนไหว (Animation) ไฟล์ภาพเคลื่อนไหวที่นำมาใช้ส่วนใหญ่จะมี 2 ประเภท คือ ไฟล์ภาพเคลื่อนไหวง่ายๆ เรียกว่าประเภท GIF89a และไฟล์ภาพเคลื่อนไหวที่ซับซ้อนขึ้นคือประเภท SWF การนำภาพเคลื่อนไหวมาใช้ในเว็บ ต้องใช้อย่างมีเหตุผลและมีความจำเป็น เนื่องจากหากใช้มากเกินไปจะเป็นการรบกวนสมาธิและเบี่ยงเบนความสนใจของผู้เรียนได้ หลีกเลี่ยงการใช้ภาพเคลื่อนไหวที่แสดงซ้ำไปเรี่อยๆ ควรให้แสดงเพียงครั้งเดียวและยอมให้ผู้เรียนเลือกที่จะแสดงอีกหรือไม่

4. เสียง (Audio) และวีดิทัศน์ (Video) เนื่องจากปัญหาในเรื่องของการโหลดข้อมูลที่ต้องใช้เวลานาน ฉะนั้นหากไม่มีความจำเป็นจริงๆ ก็ควรหลีกเลี่ยงที่จะใช้และหาวิธีอื่นนำเสนอแทน ในบางกรณีที่ต้องใช้ก็ควรจะต้องใช้เสียงหรือภาพที่เหมาะสม น่าสนใจ เปิดโอกาสให้ผู้เรียนสามารถเลือกที่จะหยุดหรือเล่นใหม่ได้

การใช้สีสำหรับเว็บ

การออกแบบระบบเนวิเกชัน เข้าใจง่าย ชัดเจน มีความสม่ำเสมอตลอดทั้งเว็บไซด์ มีการตอบสนองผู้ใช้ โดยมีระบบที่ช่วยให้ผู้ใช้ทราบว่าตอนนี้ตนเองอยู่ในตำแหน่งใด ตำแหน่งของเนวิเกชันควรอยู่ในที่ๆ มองเห็นได้ชัดเจน

สรุปหลักในการออกแบบเว็บ ให้มีประสิทธิภาพ โครงสร้างที่ชัดเจนและมีระบบ เนวิเกชันที่มีประสิทธิภาพ ความเหมาะสมของเว็บเพจ ความสม่ำเสมอ ความรวดเร็ว