การพัฒนาอย่างยั่งยืน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
Advertisements

ทางออก ทางรอดชนบทไทย ในกระแสอาเซียน”
ชี้แจงการสัมมนากลุ่มย่อย
เศรษฐกิจในชีวิตประจำวัน
การพัฒนาเศรษฐกิจ ความหมาย
กรอบแนวคิดการพัฒนาทุนชุมชน
สิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีและชีวิต
กุลภัทรา สิโรดม 20 กรกฎาคม 2554
เศรษฐกิจพอเพียง.
โครงงานสำรวจความหลากหลายทางชีวภาพบริเวณป่าชายเลนบ้านอำเภอ
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
การป้องกันกำจัดศัตรูพืชแบบผสมสาน
การวางแผนกลยุทธ์.
การพัฒนาที่ยั่งยืน การพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development) คือ การพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรธรรมชาติเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของประชากรโลก.
Green Village บ้านคลองกั่ว หมู่ 7 ต.เขาพระ อ.รัตภูมิ จ. สงขลา.
กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข 23 มกราคม 2557 ณ โรงแรมริชมอนด์ นนทบุรี
ขั้นตอนที่ 4 การวิเคราะห์ความเสี่ยง สภาพแวดล้อมภายในและภายนอก
การบริหารการจัดการสิ่งแวดล้อม เพื่อพัฒนาสิ่งแวดล้อมแบบผสมผสาน
อนุสัญญาไซเตส โชคชัย บุตรครุธ.
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
การใช้ทรัพยากรเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
การพัฒนาสังคม Social Development 5 : 16 ธ.ค. 54.
แผนปฏิบัติราชการของมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552
การท่องเที่ยวเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต Tourism For life-Quality Development อ.วันทกาญจน์ สีมาโรฤทธิ์
สรุปสาระสำคัญโดยสังเขปของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11
เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม
ความเชื่อมโยงวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อมกับการจัดการเทคโนโลยี การใช้ทรัพยากร อย่างยั่งยืน การผลิต เข้าใจพื้นฐาน สิ่งแวดล้อม ปราศจาก มลภาวะและการสูญเสีย.
นำเสนอโดย น.ส. วิไล เดชตุ้ม
การอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมในการผลิตพืช
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
สิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีและชีวิต
การจัดทำคำของบประมาณรายจ่าย กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2550 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2550 มาตรา 66 บุคคลซึ่งรวมกันเป็นชุมชน ชุมชนท้องถิ่น หรือชุมชนท้องถิ่นดั้งเดิม.
การประเมินความเสี่ยงใน ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข
การค้ามนุษย์.
โดย สมภพ อมาตยกุล 21 กันยายน 2548
องค์กรนำการปศุสัตว์ไทย
ตัวอย่าง ตารางกรอบแผนการบริหารจัดการและพัฒนาลุ่มน้ำ แบบบูรณาการ
สำนักนโยบายและแผนการอาชีวศึกษา
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
บทที่10 ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ
การบริหารงานจังหวัดลพบุรีแบบ บูรณาการ กพร.- TRIS 18/05/2549.
SPATIAL PLANING : SGA-PEI รศ. ดร
ความหลากหลายทางชีวภาพ
เงื่อนไขการรับฟ้องและ ในคดีปกครองด้าน สิ่งแวดล้อม
( Natural farming) เกษตรธรรมชาติ.
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
บทที่ 3 ปรัชญาและแนวความคิดของการพัฒนาชุมชน
กระบวนการทางเศรษฐกิจ
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
ยุทธศาสตร์จังหวัดชัยนาท
การจัดการองค์ความรู้ ระบบการผลิตที่ยั่งยืน ความพอเพียงในการดำรงชีพ
วิชาธุรกิจและการเป็นผู้ประกอบการ สัปดาห์ที่ 1
ต้นทุนการผลิต.
ทฤษฎี และหลักการพัฒนาชุมชน
ธรรมาภิบาลกับการจัดการภาครัฐแนวใหม่
บทบาทของข้อมูลการตลาด
หน่วยการเรียนที่ 2 สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรทางธรรมชาติ
วิสัยทัศน์การพัฒนาตำบล
แนวคิดและทิศทางการพัฒนาประเทศ
คำอธิบายรายวิชา ศึกษาการวิเคราะห์ข้อมูลทางภูมิศาสตร์กายภาพทั้ง 6 ภาคของไทย และสภาวะแวดล้อมต่างๆ ศึกษาภัยธรรมชาติต่างๆ ซึ่งทำให้เกิดลักษณะเฉพาะหรือปรากฏการณ์ในพื้นที่
 กระแสการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่าง กว้างขวางทำให้เกิดการติดต่อด้านเศรษฐกิจ ระหว่างประเทศ สร้างตลาดการค้า การ แข่งขัน การส่งออก การบริการ การลงทุนและ.
ด. ช. อติชาต ปันเต ม.1/12 เลขที่ 4 ด. ช. ณปภัช เรือนมูล ม.1/12 เลขที่ 5.
นิเวศวิทยาการเมือง : ความยั่งยืนทางนิเวศในสังคมไทย
7.Discussion การอภิปราย นายวัชรกร เดชะบุญ รหัสนิสิต
หน่วยที่ ๗ แนวโน้มสังคมไทย และแนวทางเลือก.
เรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพัฒนาอย่างยั่งยืน แนวความคิด การพัฒนาอย่างยั่งยืน

วิวัฒนาการของการพัฒนาอย่างยั่งยืน ช่วงทศวรรษ 1960 มีการเคลื่อนไหวเพื่อต่อต้านการใช้สารเคมี และสารพิษอย่างกว้างขวาง 1962 ตีพิมพ์หนังสือ Silent Spring กระตุ้นให้นานาประเทศเห็นความสำคัญของการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับสารพิษในสิ่งแวดล้อม และหนังสือ Population Bomb เกี่ยวกับการเพิ่มขึ้นของประชากรมนุษย์ การใช้ทรัพยากรธรรมชาติ และคุณภาพสิ่งแวดล้อม 1968 องค์การสหประชาชาติจัดประชุมนานาชาติ เพื่อกำหนดรูปแบบการพิทักษ์รักษาทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมของโลกอย่างจริงจัง

1971 ตีพิมพ์เอกสาร Only One Earth เสนอแนวความคิดการจัดสรร และการสำรองทรัพยากรธรรมชาติสำหรับคนรุ่นอนาคต Organisation for Economic Cooperation and Development (OECD) พัฒนาแนวความคิด Polluter Pays Principle 1972 ตีพิมพ์หนังสือ Limits to Growth ประยุกต์แนวความคิดของ Malthus ให้ความสำคัญกับการขาดแคลนทรัพยากรธรรมชาติ องค์การสหประชาชาติจัดประชุม United Nations Conference on the Human Environment มีการจัดทำร่างปฏิญญาสากลว่าด้วยสิ่งแวดล้อมของมนุษย์

กำหนดหลักการ 26 ประการเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมโลก 1980 จัดทำ World Conservation Strategy และพัฒนาต่อมาเป็น Caring for the Earth : A Strategy for Sustainable Living 1987 ประชุม World Commission on Environment and Development ซึ่ง Gro Harlem Brundtland นายกรัฐมนตรีของประเทศนอรเวย์เสนอให้กำหนดหัวข้อทางสิ่งแวดล้อมที่อยู่ในขั้นวิกฤต จัดพิมพ์เอกสาร Our Common Future 1992 การประชุม United Nations Conference on Environment and Development (UNCED) ณ ริโอเดอจาไนโร ประเทศบราซิล

ผลสรุปของการประชุม ณ กรุงริโอเดอจาไนโร ปฏิญญาว่าด้วยสิ่งแวดล้อมและการพัฒนา (คำประกาศริโอ) ประกอบด้วยหลักการ 27 ข้อเพื่อให้เกิดการพัฒนาอย่างยั่งยืน อนุสัญญาว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลก แผนปฏิบัติการที่ 21 คำแถลงเกี่ยวกับหลักการเรื่องป่าไม้ อนุสัญญาว่าด้วยการอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพ

Sustainable Development is development that meets the needs of the present without compromising the ability of the future generations to meet their own needs การพัฒนาอย่างยั่งยืน หมายถึง การพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติเพื่อตอบสนองความต้องการของคนในยุคปัจจุบัน โดยแนวทางที่ไม่ก่อให้เกิดความเสียหายต่อสังคมของสิ่งมีชีวิต โดยต้องคำนึงถึงความต้องการของคนในรุ่นต่อไปในอนาคตด้วย

แนวทางการประยุกต์หลักการพัฒนาอย่างยั่งยืน ยึดถือความสมดุลของระบบนิเวศ และระบบสิ่งแวดล้อม (Ecocentric) ยึดถือการพัฒนาคุณภาพชีวิตมนุษย์ (Anthropocentric) เป้าหมายของการพัฒนาอย่างยั่งยืน บูรณาการแนวความคิดการพัฒนาคุณภาพสิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ และการตัดสินใจในทุกระดับ พิจารณาต้นทุนทางสิ่งแวดล้อม และต้นทุนทางสังคม อัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจแบบเสมอภาค กระจายโอกาสการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ

- พัฒนาเทคโนโลยีที่เหมาะสมเพื่อเป็นบรรทัดฐานในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติอย่างมีประสิทธิภาพ เพิ่มประสิทธิภาพ และปรับปรุงรูปแบบการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติเพื่อให้ตอบสนองความต้องการของมนุษย์ได้อย่างต่อเนื่อง รักษาระดับประชากรโลกให้คงที่เพื่อการให้บริการด้านการศึกษา สาธารณสุข และบริการอื่น ๆ มีประสิทธิภาพ

ความต้องการทางเศรษฐกิจ ศักยภาพของสิ่งแวดล้อม ความต้องการทางสังคม ความต้องการทางเศรษฐกิจ ศักยภาพของสิ่งแวดล้อม

หลักการพัฒนาอย่างยั่งยืนตามแนวทาง The Stockholm Declaration และ Rio Declaration 1) ความร่วมมือระหว่างประเทศทางสิ่งแวดล้อม 2) การให้คำแนะนำในเรื่องทางสิ่งแวดล้อมอย่างต่อเนื่อง 3) หลักการป้องกันล่วงหน้า 4) สิทธิของรัฐในการใช้ประโยชน์ทรัพยากรธรรมชาติ 5) ความเสมอภาคในการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ 6) การแจ้งเหตุฉุกเฉินที่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม 7) หลักการผู้ก่อมลพิษเป็นผู้จ่าย

8) สิทธิในสิ่งแวดล้อม 9) ความยุติธรรมในสิ่งแวดล้อมสำหรับชนยุคอนาคต 10) การขจัดปัญหาความยากจน 11) พันธกรณีร่วม และพันธกรณีที่แตกต่าง 12) การมีส่วนร่วมของประชาชน 13) การไม่เลือกปฏิบัติทางสิ่งแวดล้อม 14) การระงับข้อพิพาทอย่างสันติ

หลักการพัฒนาอย่างยั่งยืน 1. Principle of Futurity (Inter-generational equity) 2. Principle of Social Equity (Intra-generational equity) 3. Principle of Environmental Conservation and Protection (Transfrontier responsibility) 4. Principle of Public Participation การพัฒนาอย่างยั่งยืนต้องใช้ครอบครัวและชุมชนเป็นฐานในการพัฒนา (Family-based development and Community-based development)

การพัฒนาสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน โดยคำนึงถึงความสัมพันธ์ระหว่างการพัฒนากับคุณภาพสิ่งแวดล้อม รูปแบบของกิจกรรมการพัฒนาที่จะส่งผลกระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อมต้องมีคุณสมบัติ คือ เป็นกิจกรรมที่ไม่ส่งผลเสียหายต่อปริมาณสำรองของทรัพยากรธรรมชาติ โดยส่งเสริมการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอื่นทดแทนทรัพยากรธรรมชาติที่มีปริมาณน้อย, 2) หลีกเลี่ยงกิจกรรมที่เป็นอุปสรรคขัดขวางการฟื้นคืนสภาพของทรัพยากรธรรมชาติ,

3) เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมให้เกิดความเสมอภาคในการบริโภคทรัพยากรธรรมชาติ และ 4) หลีกเลี่ยงกิจกรรมที่มีแนวโน้ม หรือก่อให้เกิดความเสี่ยงต่อการเสียความสมดุลตามธรรมชาติของระบบนิเวศ