อาจารย์ ดร. นฤมล รักษาสุข

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เรื่อง ธุรกิจในชีวิตประจำวัน
Advertisements

การเปลี่ยนแปลงทางสังคม
ผู้นำ การจูงใจ การจูงใจคืออะไร
การสังเกต อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์.
Research Problem ปัญหาการวิจัย
การบริหารกลุ่มและทีม
การเผยแพร่บทความวิชาการจากรายงานวิจัย
บทที่ 3 ระดับของสารสนเทศ.
สรุปภาพรวมของหน่อยการเรียนรู้
เพราะฉะนั้น ในแต่ละลำดับขั้นของระบบชีวิตจะมีปฏิสัมพันธ์เกี่ยวกับ
ระบบเทคโนโลยี Technology System
ระบบการตลาดและ หน้าที่ทางการตลาด
การพัฒนาที่ยั่งยืน การพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development) คือ การพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรธรรมชาติเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของประชากรโลก.
การปรับตัวและการเลือกคู่ครอง
การดำเนินงานสุขศึกษา ในชุมชน
รายวิชาแหล่งสารสนเทศ การเลือกใช้และการประเมินแหล่งสารสนเทศ
การจัดการศูนย์สารสนเทศ
รายวิชาแหล่งสารสนเทศ การเลือกใช้และการประเมินแหล่งสารสนเทศ
รายวิชา แหล่งสารสนเทศ การเข้าถึงแหล่งสารสนเทศ อาจารย์ ดร.นฤมล รักษาสุข
โครงการวิจัยเรื่องความอยู่ดีมีสุขของประชากร ในประเทศกำลังพัฒนา
พัฒนาการทางสังคมของวัยรุ่น
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 5
เรื่อง ระบบเทคโนโลยี.
ความหมาย ประโยชน์ ลักษณะของทีม
ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษากับการเรียนรู้ตลอดชีวิต
6. การควบคุมให้ปฎิบัติตามกฎ ระเบียบ และ. มาตรฐานความ ประพฤติ การควบคุมให้ปฎิบัติตามกฎ ระเบียบ และ มาตรฐานความ ประพฤติ 7. การทำความเข้าใจซึ่งกันและกัน.
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับพฤติกรรมผู้ใช้
มนุษย์จะได้ชื่อว่าเป็นผู้ที่มีคุณภาพชีวิตที่ดีได้ ก็เพราะการรู้จักเลือกประกอบกิจกรรมนันทนาการ สรุปเนื้อหาสาระจาก นันทนาการและการจัดการ พีระพงศ์ บุญศิริ
กิจกรรมนันทนาการ.
กิจกรรมจิตอาสาโรงพยาบาลลำปาง
Economic Institute เพื่อสนองความต้องการของตนเองทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ กระบวนการการแสวงหาอาหาร การผลิตอาหาร การบริโภคต่างๆ.
1. การพัฒนาประชาธิปไตย : สถาบัน
ทฤษฎีทางอาชีพ ผศ. นิตยา เรืองแป้น ภาควิชาพื้นฐานการศึกษา
การพัฒนากระบวนการคิด
ในฐานะสื่อกลางของความคิด
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
มนุษย์สัมพันธ์ ในการทำงานเป็นทีม
การจูงใจ (Motivation)
เพื่อการกำหนดระดับตำแหน่ง
ถอดรหัส Nanoka : ภาวะผู้นำและการประเมินแนวใหม่
(Individual and Organizational)
ทักษะการตัดสินใจ นัทธี จิตสว่าง 28 มีนาคม 2553.
วัยรุ่นกับปัจจัยทางสังคมที่ส่งผลต่อพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ
ปัญหาการวิจัย โดย ดร.วรรณะ บรรจง.
การประยุกต์ใช้คลังความรู้
(พระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว)
การเลือกซื้อสินค้า.
บทบาทอาสาสมัครผู้สูงอายุ
นางนวธัญย์พร ศรีจันทร์ พยาบาลวิชาชีพ ชำนาญการ
สรุประบบเทคโนโลยี สมาชิกกลุ่ม 1.น.ส.มยุรี ริยะอุด เลขที่ 1 ม.4.10
โดย... นายชัยวัฒน์ ร่างเล็ก ผู้อำนวยการสำนักงานคุมประพฤติจังหวัดระยอง
ประสบการณ์การบริหาร มหาวิทยาลัย ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๐. เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารมหาวิทยาลัย โครงสร้าง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รูปแบบการบริหารและขอบเขต อำนาจ.
การวิจัยการบริหาร ทรัพยากรมนุษย์ ดร. สุจิตรา ธนานันท์
กลุ่มgirls’generation
“การเสริมสร้างชีวิตให้เป็นสุข”
เทคโนโลยีกับศาสตร์ จากความหมายของคำว่า "วิทยาศาสตร์" และความหมายของคำว่า "เทคโนโลยี" ที่กล่าวมาข้างต้นจะเห็นว่า วิทยาศาสตร์เป็นความรู้ที่นำไปใช้อธิบายได้ว่า.
WBI คืออะไร   WBI หรือ Web Base Instruction เป็นการจัดกิจกรรมการสอนใน รูปแบบของ Web Knowledge Based โดยใช้เทคโนโลยีทางของ Webpage เป็นศูนย์กลางในการนำเสนอเนื้อหา.
จัดทำโดย ปฏิภาณ ไชยกุล อดิศร สุดดวง
ทฤษฎีลำดับขั้นความต้องการของมาสโลว์
หลักการเขียนโครงการ.
หน่วยที่ 3 ประเภทแหล่งข้อมูลทางการตลาด
การนำเสนอผลงานวิจัย โดย : นายเอกพงษ์ วรผล.
มนุษยสัมพันธ์ในการบริหารการศึกษา
การพัฒนาตนเอง.
กลุ่ม คาวาอี้ ~~ จัดทำโดย ชั้น ม.4.11 นางสาว กรรณิการ์ ใจวัง เลขที่ 7
ให้โอกาสผู้เรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบ สร้างความมีวินัย การตรงต่อเวลา
ภาษาและเทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับครู
ภาษาและเทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับครู
วิชา หลักการตลาด บทที่ 5
เรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

อาจารย์ ดร. นฤมล รักษาสุข ผู้ใช้สารสนเทศ อาจารย์ ดร. นฤมล รักษาสุข

หน่วยที่ 2 2. ความต้องการสารสนเทศของผู้ใช้ 2.1 ความหมายของความต้องการสารสนเทศ 2.2 ปัจจัยที่ทำให้เกิดความต้องการ สารสนเทศ 2.3 ระดับความต้องการสารสนเทศ 2.4 ประเภทความต้องการสารสนเทศ

2.1 ความหมายของความต้องการสารสนเทศ ความต้องการสารสนเทศ (Information Need) คือ ช่องว่างทางความรู้ ที่เกิดขึ้นเป็นปกติในชีวิตประจำวันของมนุษย์ มนุษย์มีคำถามหรือปัญหาเกี่ยวกับการดำเนินชีวิตอยู่ตลอดเวลา

2.1 ความหมายของความต้องการสารสนเทศ มีความสนใจใคร่รู้เกี่ยวกับเรื่องต่างๆ และจำเป็นต้องแสวงหาสารสนเทศมาตอบคำถามหรือแก้ปัญหานั้นๆหรือนำสารสนเทศมาเติมช่องว่างทางความรู้นั่นเอง (อารีย์ ชื่นวัฒนา, 2549: 2-6)

2.2 ปัจจัยที่ทำให้เกิดความต้องการสารสนเทศ 2.2.1 ปัจจัยที่เกี่ยวกับตนเอง 2.2.2 ปัจจัยที่เกี่ยวกับบทบาทและหน้าที่ การงาน 2.2.3 ปัจจัยสภาพแวดล้อม

2.2.1 ปัจจัยที่เกี่ยวกับตนเอง 1) ความต้องการทางร่างกาย 2) ความต้องการทางจิต 3) ความต้องการทางปัญญา

1) ความต้องการทางร่างกาย เป็นความต้องการพื้นฐานที่ทำให้ร่างกายสุขสบาย เช่น ต้องการอาหาร น้ำ ที่อยู่อาศัย เครื่องนุ่งห่ม ความปลอดภัย

2) ความต้องการทางจิต เป็นความต้องการที่เกี่ยวข้องกับอารมณ์ ความรู้สึก เช่น ต้องการความสำเร็จ ต้องการมีอำนาจ ต้องการให้คนอื่นยอมรับนับถือตน ต้องการมีความสัมพันธ์กับผู้อื่น เป็นต้น

3) ความต้องการทางปัญญา เป็นความต้องการที่เกี่ยวข้องกับความเฉลียวฉลาด เช่น ต้องการเป็นคนเก่งต้องการวางแผน ต้องการเรียนรู้ให้เกิดความชำนาญ

2.2.2 ปัจจัยที่เกี่ยวกับบทบาทและ หน้าที่การงาน 2.2.2 ปัจจัยที่เกี่ยวกับบทบาทและ หน้าที่การงาน เป็นปัจจัยที่ทำให้เกิดความต้องการพื้นฐานโดยเฉพาะความต้องการทางปัญญาและทำให้เกิดความต้องการสารสนเทศต่อไป

2.2.2 ปัจจัยที่เกี่ยวกับบทบาทและ หน้าที่การงาน (ต่อ) 2.2.2 ปัจจัยที่เกี่ยวกับบทบาทและ หน้าที่การงาน (ต่อ) บทบาทและหน้าที่การงานของบุคคลที่แตกต่างกันย่อมต้องการสารสนเทศในรูปลักษณะและรายละเอียดแตกต่างกัน

2.2.3 ปัจจัยสภาพแวดล้อม 1) สภาพแวดล้อมเกี่ยวกับงาน 2) สภาพแวดล้อมทางสังคม

1) สภาพแวดล้อมเกี่ยวกับงาน งานบางประเภท หรือองค์การบางแห่งมีวัฒนธรรมของการใช้สารสนเทศเพื่อการปฏิบัติงานประจำมาก ในขณะที่บางแห่งอาจต้องการสารสนเทศน้อย

2) สภาพแวดล้อมทางสังคม สังคมปัจจุบันเป็นสังคมการเรียนรู้ (Learning Society) สังคมอุดมปัญญา (Intellectual Society) สังคมเศรษฐกิจฐานความรู้ (Knowledge-based Society)ซึ่งต้องใช้ความรู้และสารสนเทศในการดำรงชีวิต

2.3 ระดับความต้องการสารสนเทศของ ผู้ใช้ 2.3 ระดับความต้องการสารสนเทศของ ผู้ใช้ 2.3.1 ระดับรู้แจ้ง 2.3.2 ระดับบอกความต้องการได้ 2.3.3 ระดับรู้ความต้องการ 2.3.4 ระดับไม่สามารถระบุความต้องการได้

2.3.1 ระดับรู้แจ้ง ผู้ใช้สามารถบอกความต้องการและระบุแหล่งสารสนเทศได้ ตัวอย่างเช่น อาจารย์แจ้งให้สำเนาบทความจากวารสารชื่อใดชื่อหนึ่ง

2.3.2 ระดับบอกความต้องการได้ ผู้ใช้สามารถอธิบายคำถามหรือความต้องการได้ชัดเจน ตัวอย่างเช่น ศ.วิจิตร ศรีสอ้าน ต้องการข้อมูลช่วงเวลาของยุคกรีกและโรมัน

2.3.3 ระดับรู้ความต้องการ ผู้ใช้รู้แต่เพียงว่าตนมีความต้องการแต่ไม่สามารถอธิบายได้ชัดเจนว่าตนต้องการอะไร ตัวอย่างเช่น นักศึกษาต้องการข้อมูลไปใช้ทำรายงานส่งอาจารย์

2.3.4 ระดับไม่สามารถระบุความต้องการได้ ผู้ใช้ไม่รู้ชัดว่าตนต้องการอะไร ระบุได้แต่เพียงว่าพอใจหรือไม่พอใจ ซึ่งอาจเป็นสารสนเทศที่ไม่จำเป็นมากหรือผู้ใช้ยังไม่มีความต้องการอย่างแท้จริง ตัวอย่างเช่น ความต้องการดูดีวีดีเพื่อความบันเทิง

2.4 ประเภทความต้องการสารสนเทศ 2.4.1 ความต้องการสารสนเทศตามเงื่อนไขทาง เวลา 2.4.2 ความต้องการสารสนเทศตามขอบเขตของ ความต้องการ 2.4.3 ความต้องการสารสนเทศตามระดับ ความต้องการของผู้ใช้

2.4.1 ความต้องการสารสนเทศตาม เงื่อนไขทางเวลา 2.4.1 ความต้องการสารสนเทศตาม เงื่อนไขทางเวลา เป็นความต้องการเร่งด่วนที่ต้องได้รับการตอบสนองในทันที หรือ ความต้องการที่สามารถรอคอยได้

2.4.2 ความต้องการสารสนเทศตามขอบเขตของความต้องการ เป็นความต้องการที่กว้าง แคบ หรือตรงเป้าหมาย

2.4.3 ความต้องการสารสนเทศตาม ระดับความต้องการของผู้ใช้ 2.4.3 ความต้องการสารสนเทศตาม ระดับความต้องการของผู้ใช้ เมื่อแสดงความต้องการสารสนเทศแล้วผู้ใช้บางคนอาจไม่นำสารสนเทศที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ ในขณะที่สารสนเทศบางเรื่องมีความจำเป็นอย่างมากสำหรับผู้ใช้บางกลุ่ม เช่น สารสนเทศเพื่อการรักษาผู้ป่วย หรือสารสนเทศสภาพดินฟ้าอากาศสำหรับเกษตรกร