หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
Advertisements

3. วิธีทำให้ข้อมูลเป็นสารสนเทศมีกี่วิธีอะไรบ้าง
การงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่อง อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีสารสนเทศ โดย เด็กหญิงนฤมล พรมม่วง เลขที่ 29 ชั้น ม.2/2
เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์
ระบบปฏิบัติการ (Operating System : OS )
โรงเรียนวัดสิตาราม สำนักงานเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร
คลิก เข้าสู่การเรียนรู้
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
Central Processing Unit
ระบบคอมพิวเตอร์ (Computer System)
การเลือกซื้อสเปคคอม จัดทำโดย นาย ธนวัฒน์ แซ่ลิ้ม ม.4/2 เลขที่ 25
1.
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานคอมพิวเตอร์
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
RAM (Random Access Memory)
หลักการทำงาน ของคอมพิวเตอร์
เอ็มโอดิสก์ (MO หรือ Magneto Optical disk)
หน่วยความจำ (Memory Unit)
Memory Internal Memory and External Memory
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ (Personal Computer : PC)
? คอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ คือ อะไรนะ ?
เรื่อง การทำงานของคอมพิวเตอร์ สาระวิชา คอมพิวเตอร์ ช่วงชั้นที่ ๑
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
การประยุกต์ ใช้งานมัลติมีเดีย
ระบบปฏิบัติการ ผู้สอน ผศ. รวินทร์ ไชยสิทธิพร chandra. ac
Computer Programming I
Computer Programming I
Computer Programming I
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการทำงานและอุปกรณ์คอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
หน่วยประมวลผลกลางและหน่วยความจำ Central Processing Unit and Memory
หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง Secondary Storage Unit
เรื่ององค์ประกอบคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หน่วยบันทึกข้อมูลของคอมพิวเตอร์ ครูสุวรรณ์ พิมเสน ครู คศ
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่อง. หลักการทำงาน และ
ผู้จัดทำ นางสาว สุทธิดา แสงอุไร มัธยมศึกษาปีที่ 4/2 เลขที่ 27.
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์
HARDWA RE อุปกรณ์หรือ ชิ้นส่วน ที่ประกอบเป็น คอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
อธิบายหลักการทำงาน บทบาท และประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
เครื่องคอมพิวเตอร์. ? เครื่องคำนวณอิเล็กทรอนิกส์ ประกอบด้วยวงจร อิเล็กทรอนิกส์และไอซี ชิปเซ็ต ต่างๆ ที่สามารถจดจำ ประมวลผลข้อมูล เปรียบเทียบ ตัดสินใจทาง.
Storage.
เครื่องคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์
บทที่ 1 ระบบคอมพิวเตอร์.
สร้างสรรค์โดย เด็กชายทวีลาภ สุวัฒนพันธุ์กุล Taweelap Suwattanapunkul เด็กชายทวีลาภ สุวัฒนพันธุ์กุล Taweelap Suwattanapunkul.
หน้าที่และอุปกรณ์คอมพิวเตอร์
“หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์"
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
โรงเรียนสายมิตรเทคโนโคราช
ระบบคอมพิวเตอร์ ระบบ (System) คือกลุ่มขององค์ประกอบที่มีความสัมพันธ์กันและทำงานร่วมกัน ซึ่งระบบคอมพิวเตอร์จะมีองค์ประกอบที่สำคัญ 3 ส่วน คือ ฮาร์ดแวร์ (Hardware)
วิชา การปฏิบัติการประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ (computer system)
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
การทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
หลักในการเลือกซื้อคอมพิวเตอร์ที่เหมาะสม
หน่วยรับเข้า ทำหน้าที่รับข้อมูลจากผู้ใช้เข้าสู่หน่วยความจำหลัก ปัจจุบันมีสื่อต่าง ๆ ให้เลือกใช้ได้มากมาย แบ่งเป็นประเภทต่าง ๆ 1.แป้นพิมพ์ (Keyboard) 2.เมาส์
จัดทำโดย เด็กหญิง พัทธนันท์ ริบแจ่ม เลขที่ 7 มัธยมศึกษาชั้นปีที่ 4/5 เสนอ อาจารย์ สายฝน เอกกันทา โรงเรียนจักรคำคณาทร จ. ลำพูน.
Integrated Network Card
วิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ รหัสวิชา Computer Technology and Operating System บทที่ 1 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ อ.รจนา วานนท์ Master.
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ระบบคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ (Personal Computer : PC)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์

หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์

หน่วยรับข้อมูล           เครื่องมือหรืออุปกรณ์ที่ทำหน้าที่รับข้อมูลรับข้อมูลหรือคำสั่ง จากผู้ใช้เข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ โดยแปลงข้อมูลหรือคำสั่งนั้นให้อยู่ในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อทำการประมวลผลต่อไป

หน่วยประมวลผลกลาง           ส่วนที่ทำหน้าที่ปฏิบัติตามคำสั่งที่รับมาจากหน่วยรับข้อมูล และควบคุมการปฏิบัติงานของเครื่องคอมพิวเตอร์

หน่วยประมวลผลกลางประกอบด้วยส่วนสำคัญ 2 ส่วน หน่วยควบคุม (Control Unit) ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของอุปกรณ์ต่างๆ ในระบบทั้งหมด ให้ทำงานอย่างถูกต้อง หน่วยคำนวณ (Arithmetic Logic Unit) ทำ หน้าที่ประมวลผลข้อมูลทางคณิตศาสตร์และทางตรรกะ เช่น           -   การคำนวณทางคณิตศาสตร์ ได้แก่ การบวก ลบ คูณ หาร -   การกระทำทางตรรกะ (AND, OR) -   การเปรียบเทียบ เช่น การเปรียบเทียบค่าของข้อมูล 2 ตัวว่ามีค่าเท่ากัน มากกว่า หรือน้อยกว่า ไม่ว่าข้อมูลจะเป็นตัวเลข หรือตัวอักษรก็สามารถเปรียบเทียบได้         -   การเลื่อนข้อมูล (Shift)           -   การเพิ่มและการลด (Increment and Decrement)           -   การตรวจสอบบิท (Test Bit)  

หน่วยความจำหลัก (Main Memory)           หน่วยความจำหลัก  เป็นหน่วยความจำที่อยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์  แบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท คือ           1. รอม (ROM : Read Only Memory)  เป็นหน่วยความจำหลักที่                     -  ใช้บรรจุโปรแกรมสำคัญ ที่ใช้ในการสตาร์ทอัพเครื่อง                     -  ไม่ต้องใช้กระแสไฟฟ้าเลี้ยง ข้อมูลก็จะยังคงอยู่                              2. แรม (RAM : Random Access Memory)                                                                                                         -  ทำหน้าที่เก็บข้อมูลที่รับเข้ามาจากหน่วยรับข้อมูล  เพื่อนำไปประมวลผล                     -  ทำหน้าที่เก็บผลลัพธ์ที่ได้ขณะทำการประมวลผลซึ่งยังไม่ใช่ผลลัพธ์สุดท้าย                       -  ทำหน้าที่เก็บผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลซึ่งเป็นผลลัพธ์สุดท้าย                     -  ทำหน้าที่เก็บชุดคำสั่งต่างๆ ขณะที่เรากำลังทำงานอยู่กับเครื่อง                         เพื่อใช้ในการประมวลผล                         

หน่วยความจำสำรอง (Secondary Memory)           หน่วยความจำสำรอง  เป็นหน่วยความจำที่ใช้เก็บข้อมูล และโปรแกรมที่ต้องการใช้งานในคราวต่อไปได้   ซึ่งสามารถบรรจุข้อมูลและโปรแกรมได้เป็นจำนวนมาก อุปกรณ์ที่เป็นหน่วยความจำสำรอง ได้แก่ จานแม่เหล็ก (Magnetic Disk)   ฮาร์ดิสก์ จานแม่เหล็กสามารถเข้าถึงข้อมูลได้โดยตรง (Direct Access)  ได้แก่  ฮาร์ดดิสก์ และฟล็อปปี้ดิสก์ เทปแม่เหล็ก (Magnetic Tape)  สามารถบันทึกและเข้าถึงข้อมูลแบบเรียงลำดับ (Sequential Access) การบันทึกทำโดยสร้างสนามแม่เหล็กลงบนเนื้อเทป จานแสง (Optical Disk)   เครื่องอ่านแผ่นซีดี (CD-ROM Drive) เป็นสื่อที่ใช้บันทึกข้อมูลได้ปริมาณมากสามารถอ่านและบันทึกข้อมูลด้วยแสงเลเซอร์ เช่น CD-ROM  (Compact Disc Read-Only Memory) มีความจุข้อมูลสูงมาก ตั้งแต่ 650 เมกะไบท์ (MB) สามารถอ่านข้อมูลได้อย่างเดียว แก้ไขเปลี่ยนแปลงไม่ได้

หน่วยแสดงผล (Output Unit)   หน่วยแสดงผล คือ           อุปกรณ์ที่ทำหน้าที่แสดงผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผล การแสดงผลลัพธ์ แบ่งเป็น 2 แบบ แสดงผลทางบนจอภาพ                                            การแสดงผลทางจอภาพ เรียกได้อีกอย่างว่าเป็น Soft Copy คือ จะแสดงผลลัพธ์ขณะที่มีกระแสไฟฟ้าอยู่ อุปกรณ์คือ จอภาพคอมพิวเตอร์ทั่วไป ซึ่งภาพบนจอประกอบด้วยจุดหรือ pixel หลายๆ pixel สามารถแสดงผลความละเอียดได้หลายระดับ เช่น 640 * 480 จุด , 800 * 600 จุด , 1024 * 786 จุด แสดงผลทางเครื่องพิมพ์                              การแสดงผลทางจอภาพ  หรือเรียกได้อีกอย่างว่าเป็น Hard Copy คือ สามารถแสดงผลลัพธ์คงทนอยู่นาน ไม่ต้องใช้กระแสไฟฟ้าเลี้ยง อุปกรณ์ที่ใช้ คือ Printer

พื้นฐานการทำงานของคอมพิวเตอร์

พื้นฐานการทำงานของคอมพิวเตอร์ (ต่อ) CPU (Central Processing Unit

พื้นฐานการทำงานของคอมพิวเตอร์ (ต่อ) Primary Storage PROM (Programmable ROM) ROM (Read Only Memory) EPROM (Erasable PROM) EEPROM (Electrical EPROM) RAM (Random Access Memory) SDRAM (Synchronous DRAM) DDR SDRAM (Double Data Rate SDRAM) RDRAM (Rambus DRAM)

พื้นฐานการทำงานของคอมพิวเตอร์ (ต่อ) Secondary Storage Input Unit Output Unit System Bus

Machine Cycle

เวลาคำสั่งงานและเวลาปฎิบัติการ ช่วง I-Time (Instruction Time) หรือเวลาคำสั่งงาน อยู่ในขั้นตอนที่ 1 และ 2 (Fetch และ Decode) ซึ่งเกี่ยวข้องกับการดึงเอาคำสั่งและแปลความหมายเพื่อให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามต้องการ ช่วง E-Time (Execution Time) หรือเวลาปฏิบัติการ อยู่ขั้นตอนที่ 3 และ 4 (Execute และ Store) ซึ่งเกี่ยวข้องกับการคำนวณและนำผลลัพธ์ไปเก็บเพื่อรอให้เรียกใช้

จบการนำเสนอ