การพัฒนาที่ยั่งยืน การพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development) คือ การพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรธรรมชาติเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของประชากรโลก.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
Advertisements

การประยุกต์ใช้แนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การพัฒนาเศรษฐกิจ ความหมาย
กระแสโลกาภิวัตน์กับบทบาทด้านการคลัง (9-1-55)
กรอบแนวคิดการพัฒนาทุนชุมชน
วิสัยทัศน์จังหวัดพะเยา “เมืองเกษตรปลอดภัย การท่องเที่ยวที่ยั่งยืน”
สิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีและชีวิต
กุลภัทรา สิโรดม 20 กรกฎาคม 2554
เศรษฐกิจพอเพียง.
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
ความหมาย ปรัชญาและวัตถุประสงค์ ของงานส่งเสริมการประมง
สิ่งแวดล้อมรอบตัว.
หัวใจของแผน HRD หัวใจของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
การดำเนินงานสุขศึกษา ในชุมชน
Green Village บ้านคลองกั่ว หมู่ 7 ต.เขาพระ อ.รัตภูมิ จ. สงขลา.
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง
กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข 23 มกราคม 2557 ณ โรงแรมริชมอนด์ นนทบุรี
การบริหารการจัดการสิ่งแวดล้อม เพื่อพัฒนาสิ่งแวดล้อมแบบผสมผสาน
โครงการค่ายเรียนรู้คุณธรรม นำชีวิตพอเพียง ปี 2550
วิสัยทัศน์กรมส่งเสริมสหกรณ์ ยุทธศาสตร์จังหวัดกระบี่
สรุปการประชุม ครั้งที่ 1 วันที่ 4-5 เมษายน 2555 สรุปการประชุม ครั้งที่ 1 วันที่ 4-5 เมษายน 2555.
1. การพัฒนาประชาธิปไตย : สถาบัน
สรุปสาระสำคัญโดยสังเขปของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11
สภาพปัจจุบันและปัญหาสาธารณสุขของประเทศและท้องถิ่น
เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม
นำเสนอโดย น.ส. วิไล เดชตุ้ม
เศรษฐกิจพอเพียง ด.ญ นันทิตา ชนปทาธิป ชั้นป.4/2 เลขที่28
การอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมในการผลิตพืช
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
บทที่ 12 การเปลี่ยนแปลง และการพัฒนาองค์การ.
สิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีและชีวิต
เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2550 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2550 มาตรา 66 บุคคลซึ่งรวมกันเป็นชุมชน ชุมชนท้องถิ่น หรือชุมชนท้องถิ่นดั้งเดิม.
ความก้าวหน้าของการจัดการ ลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา
โดย สมภพ อมาตยกุล 21 กันยายน 2548
ตัวอย่าง ตารางกรอบแผนการบริหารจัดการและพัฒนาลุ่มน้ำ แบบบูรณาการ
เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาชี้ถึงแนวทางการดำรงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับตั้งแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ดำเนินไปในทางสายกลางโดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัฒน์
หน่วยที่ 7 หลักการจัดการ.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 งานธุรกิจ และการประกอบอาชีพ
บทที่10 ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ
การบริหารงานจังหวัดลพบุรีแบบ บูรณาการ กพร.- TRIS 18/05/2549.
ยุทธศาสตร์การพัฒนา จังหวัดมหาสารคาม.
แนวทางการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมกรณีอุทกภัย
งานส่งเสริมเคหกิจเกษตร
การบรรยายเรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา สำหรับนักศึกษาคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 13 มิถุนายน 2547.
การพัฒนาระบบวิจัยของประเทศ และการจัดทำนโยบายและยุทธศาสตร์
การเลือกซื้อสินค้า.
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
บทที่ 3 ปรัชญาและแนวความคิดของการพัฒนาชุมชน
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
กระบวนการทางเศรษฐกิจ
แผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2550 – 2552) องค์การบริหารส่วนตำบลทางเกวียน
ยุทธศาสตร์จังหวัดชัยนาท
การจัดการด้านสุขภาพของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สู่เมืองไทยแข็งแรง รัฐบาลได้ประกาศให้ “ เมืองไทยแข็งแรง ” โดยกำหนด เป้าหมายให้คนไทยแข็งแรงถ้วน หน้า ในปี
นายแพทย์ประดิษฐ์ วินิจจะกูล รองอธิบดีกรมอนามัย
สำรวจสภาพปัญหาและเสนอแนวทางการแก้ปัญหาทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม
จัดทำโดย ปฏิภาณ ไชยกุล อดิศร สุดดวง
บทที่ 3 ผลกระทบของอุตสาหกรรมท่องเที่ยว
หลักการจัดการสิ่งแวดล้อมแบบยั่งยืน / บูรณาการ
ชุดเรียนรู้สร้างเสริมสุขภาพช่องปากนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1- 6
นายพนาสิน หอมจิตต์ ชั้น ปวช 1 เลขที่ 11 กลุ่ม 1 แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
หน่วยการเรียนที่ 2 สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรทางธรรมชาติ
วิสัยทัศน์การพัฒนาตำบล
แนวคิดและทิศทางการพัฒนาประเทศ
คำอธิบายรายวิชา ศึกษาการวิเคราะห์ข้อมูลทางภูมิศาสตร์กายภาพทั้ง 6 ภาคของไทย และสภาวะแวดล้อมต่างๆ ศึกษาภัยธรรมชาติต่างๆ ซึ่งทำให้เกิดลักษณะเฉพาะหรือปรากฏการณ์ในพื้นที่
นิเวศวิทยาการเมือง : ความยั่งยืนทางนิเวศในสังคมไทย
หน่วยที่ ๗ แนวโน้มสังคมไทย และแนวทางเลือก.
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
วิจัยในชั้นเรียนเรื่อง
เศรษฐกิจพอเพียง นางสาวสุนิสา จันทร์ตะบูน ชั้น ปวช 1 เลขที่ 20 กลุ่ม 2
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การสร้างจิตสำนึกในการอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมกับการพัฒนาที่ยั่งยืน

การพัฒนาที่ยั่งยืน การพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development) คือ การพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรธรรมชาติเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของประชากรโลก

องค์ประกอบของการพัฒนาที่ยั่งยืน ต้องมีทรัพยากรธรรมชาติที่สมบูรณ์ มีการบำรุงรักษา กำหนดขอบเขตการใช้ ชุมชนมีเศรษฐกิจที่มั่นคง อยู่ดี กินดี มีงานทำ ประชากรมีคุณภาพชีวิตที่ดี ความรู้ดี มีมาตรฐาน วางแผนจัดการอย่างเป็นระบบ

หลักการของความยั่งยืน ทางด้านเศรษฐกิจ ทางด้านสังคม ทางด้านสิ่งแวดล้อมและทรัพยากร

การสร้างจิตสำนึกในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม คือ การทำให้บุคคลตระหนัก และเห็นคุณค่าของสิ่งแวดล้อมและทรัพยากร รวมทั้งผลกระทบจากการทำกิจกรรมที่ส่งผลต่อสิ่งแวดล้อม การสร้างความรู้สึกรับผิดชอบต่อปัญหาที่เกิดขึ้นระหว่างสิ่งแวดล้อมกับการพัฒนา เพือเป็นพื้นฐานในการพัฒนาจิตใจของบุคคล ให้มีพฤติกรรมสอดคล้องกับการอนุรักษ์ธรรมชาติ

ควรมีการสร้างจิตสำนึกที่ดี ปลูกฝังให้ทุกคนตระหนักถึงการสูญเสียสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ รักษาทรัพยากรธรรมชาติที่จำเป็นและหายากด้วยความระมัดระวัง รักษาทรัพยากรธรรมชาติที่ทดแทนได้ให้เพิ่มขึ้นเท่ากับปริมาณที่ต้องการใช้ ปรับปรุงการผลิตใหม่ๆ และใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ ให้การศึกษาแก่ประชาชน เพื่อให้เข้าใจถึงความสำคัญของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

แนวทางการปฏิบัติตามหลักการพัฒนาที่ยั่งยืน ลดการใช้พลังงาน ใช้พลังงานอย่างรู้คุณค่า แสวงหาแหล่งพลังงานใหม่ การลดมูลฝอยที่ไม่จำเป็น ผลิตสินค้าที่มีคุณภาพและยั่งยืน ซ่อมแซมเปลี่ยนแปลงง่าย ลดปริมาณการเกิดขยะ

แนวทางการปฏิบัติตามหลักการพัฒนาที่ยั่งยืน สงวนและรักษาแหล่งทรัพยากรธรรมชาติและสภาพแวดล้อม เสริมสร้างความเข้าใจที่ถูกต้องให้กับประชาชน ร่วมรับผิดชอบผลกระทบที่เกิดจากสิ่งแวดล้อม ใช้เทคโนโลยีผลิตอุตสาหกรรมอย่างมีคุณภาพ ผลิตเทคโนโลยีสะอาด มีความรับผิดชอบในการบำบัดของเสียก่อนปล่อยสู่สิ่งแวดล้อม ฯลฯ

บทบาทของสิ่งแวดล้อมต่อมนุษย์ในการสร้างวัฒนธรรม กำหนดลักษณะประชากร รูปร่างหน้าตา การกระจายที่อยู่ของมนุษย์ กำหนดความเป็นอยู่ของมนุษย์ ปัจจัย 4 อาหาร เครื่องนุ่งห่ม ที่อยู่อาศัย ยารักษาโรค กำหนดการประกอบอาชีพ ต่างสถานที่ทรัพยากรย่อมแตกต่างกัน

บทบาทของมนุษย์ต่อสิ่งแวดล้อม ในฐานะผู้ใช้ทรัพยากร ในฐานะผู้ทำให้เกิดมลพิษ ในฐานะผู้สร้างสิ่งแวดล้อมใหม่ๆ ขึ้นมา

หลักการของความยั่งยืน ที่สอดแทรกอยู่ในชีวิตประจำวันของเรา