หัวใจของแผน HRD หัวใจของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ เป้าหมายที่ดีของสังคมที่มนุษย์ อยู่อย่างดีและเหมาะสม (บรรลุได้มากพร้อม/ปริมาณ/คุณภาพ) เปลี่ยนพฤติกรรมของมนุษย์ได้
ตัวอย่างการนำทฤษฎีต่าง ๆ มาใช้ ในการพัฒนา HRD เศรษศาสตร์ เน้น ทฤษฎีทุนมนุษย์ จิตวิทยา เน้น การเปลี่ยนพฤติกรรม การบริหาร เน้น การบริหารกลุ่มทรัพยากรมนุษย์และ ระบบ การศึกษา เน้น เทคนิคเชิงมนุษย์ในการเปลี่ยนพฤติกรรม สังคมวิทยา เน้น การพัฒนากลุ่มองค์กร ค่านิยม / กระบวนการเปลี่ยนพฤติกรรม
แผนพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ปัญหาของรัฐบาล? การศึกษาข้อมูลเชิงปริมาณ ความต้องการของ กลุ่มเป้าหมาย ปัญหาที่แท้จริง ของกลุ่มเป้าหมาย ภายใน ภายนอก นโยบายของรัฐบาล แผนพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ องค์กรท้องถิ่น ปัญหาของ อ.บ.ต.? - ระดับท้องถิ่น - ระดับครอบครัว เป้าหมายของ HRD - คุณภาพชีวิต - เศรษฐกิจท้องถิ่น - ครอบครัวผาสุข - ประชาสังคม - สุขภาพดีทั้งหมด - การศึกษาตลอดชีพ Top - down - ระดับชาติ -ระดับภูมิภาค Button - up การศึกษาข้อมูลเชิงคุณภาพ
ตัวอย่างของทฤษฎีบริหาร การบริหารเชิง มนุษย ระบบ HRD วิทยาศาสตร์ สัมพันธ์ นัก ทฤษฎี : ธรรมชาติของมนุษย์ : การจูงใจ : ทัศนะองค์กร : ลักษณะของงาน : Frederie Eton Kenneth Kris Taylor Mayo Boulding Argyris ความเฉลียวฉลาด สัตว์สังคม บทบาท มีความคิด สร้างสรรค์ เงิน ความรู้สึก ระบบ ความต้องการ เครื่องจักร ทำเพื่อส่วนรวม ระบบ ขึ้นกับปัจเจกบุคคล ต้องร่วมมือ เป็นความสัมพันธ์ เป็นกระบวนการ เป็นผลงานของ เลี่ยงความ ของกลุ่ม/ทีม มนุษย์ในองค์กร ขัดแย้ง
ตัวอย่างจิตวิทยา ในการอธิบาย นัก ทฤษฎี Sigmund Frend B.F.Skinner Carl Roger Nature of Man ความรู้สึก มองโลกในแง่ร้าย มองโลกในแง่ดี องค์ประกอบของ แรงขับใต้สำนึก สภาวะสิ่งแวดล้อม ความต้องการของปัจเจก ธรรมชาติมนุษย์ ในวัยเด็ก บุคคลต่อสิ่งแวดล้อม Nature ทำให้จิตใต้สำนึก การเปลี่ยนแปลง ทำให้ความตระหนัก of Change รู้สึกตัวทำให้ ego เข้มแข็งขึ้น พฤติกรรมนำไปสู่ ในบุคคลมากขึ้น การเปลี่ยนทัศนคติ บุคคลเป็นศูนย์กลางของ และความเชื่อ การเปลี่ยนแปลง
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในองค์กร ภายนอก ปรัชญาของธุรกิจ เป้าหมาย คน/ตลาด การเงิน ขอบเขตการปฏิบัติงาน ระเบียบกฏเกณฑ์ ฯลฯ ภายใน กระบวนการขององค์กร เทคโนโลยี วัฒนธรรมขององค์กร HRD การพัฒนา การศึกษา การฝึกอบรม
ปัจจัยความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลกับ HRD ร่างกาย (Physical) ความสามารถ คนมีความแตกต่าง กาย มีขีดความสามารถแตกต่างกัน สมอง จิต (Mind) การรับรู้ คนต่างกันในด้านจิต ทัศนคติ จึงนำมาพิจารณา บุคลิกภาพ การเปลี่ยนแปลง สังคม (social) ครอบครัว ความแตกต่างในพื้นฐาน วัฒนธรรม แต่ละคน ค่านิยม H R D
การวางแผน HRD สำคัญ 1. ความสำคัญอย่างยิ่งในการวางแผน HRD - ของอนาคต - ในระยะยาว ควรมีส่วนร่วมทุกฝ่าย - ในระดับนโยบาย (กว้าง) - ในระดับปฏิบัติ (แคบ) 3. ความแพร่หลายของการวางแผน HRD - ลำบากที่จะทำให้ทุกสิ่งพร้อมกันตามแผน