สุนีย์ พงษ์พินิจภิญโญ คลังข้อมูล สุนีย์ พงษ์พินิจภิญโญ
คลังข้อมูล แนวคิดเกี่ยวกับคลังข้อมูล สถาปัตยกรรมและองค์ประกอบของคลังข้อมูล
แนวคิดเกี่ยวกับคลังข้อมูล คลังข้อมูล คือ ที่เก็บข้อมูลขององค์กรที่ได้รับการออกแบบ เพื่อช่วยในการตัดสินใจของฝ่ายบริหาร เป้าหมายในการสร้างคลังข้อมูล เพื่อแยกกลุ่มข้อมูลสารสนเทศที่ใช้ในการวิเคราะห์ทางธุรกิจออกจากฐานข้อมูลที่ใช้งานประจำวันมาเก็บอยู่ใน Relational Database Management System (RDBMS) ประสิทธิภาพสูง และทำให้การเรียกใช้ข้อมูลชุดนี้ทำได้อย่างยืดหยุ่น รวดเร็วมากยิ่งขึ้น
แนวคิดเกี่ยวกับคลังข้อมูล ประโยชน์ของระบบคลังข้อมูล ทำการรวบรวมข้อมูลที่มีความซับซ้อนให้ง่ายต่อการจัดเก็บ สามารถนำข้อมูลมาใช้ได้อย่างรวดเร็วและถูกต้อง
สถาปัตยกรรมและองค์ประกอบของคลังข้อมูล คุณสมบัติของระบบฐานข้อมูลคลังข้อมูล Subject Oriented ข้อมูลถูกสร้างจากหัวข้อที่สนใจ Integrated ข้อมูลถูกรวบรวมจากแหล่งต่างๆ แต่นำมาสร้างเป็นฐานข้อมูลที่สอดคล้องเป็นหนึ่งเดียว Time-variant ข้อมูลที่เก็บไว้ต้องมีอายุประมาณ 5-10 ปี เพื่อใช้เปรียบเทียบ หาแนวโน้ม Non-volatile ข้อมูลไม่ถูกเปลี่ยนแปลงง่ายๆ ผู้ใช้สามารถ เข้าถึงข้อมูลได้เท่านั้น
สถาปัตยกรรมและองค์ประกอบของคลังข้อมูล ความแตกต่างของระบบฐานข้อมูลคลังข้อมูลกับระบบฐานข้อมูล (OLTP) Consistency Transaction Time dimension Normalization
สถาปัตยกรรมและองค์ประกอบของคลังข้อมูล ส่วนประกอบของคลังข้อมูล เครื่องมือสกัดแยกข้อมูล ข้อมูลที่สกัดและแยกออกมาแล้ว เมตาดาตาสำหรับแสดงเนื้อหาข้อมูล ฐานข้อมูลสำหรับคลังข้อมูล เครื่องมือจัดเก็บข้อมูลในคลังข้อมูล
สถาปัตยกรรมและองค์ประกอบของคลังข้อมูล ส่วนประกอบของคลังข้อมูล โปรแกรมสำหรับจัดส่งข้อมูล เครื่องมือวิเคราะห์สำหรับผู้ใช้ วัสดุและหลักสูตรการฝึกอบรม ที่ปรึกษาด้านคลังข้อมูล
สถาปัตยกรรมและองค์ประกอบของคลังข้อมูล กระบวนการรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์หารูปแบบ ข้อมูลในคลังข้อมูล ขั้นตอนที่ 1 เลือก business process ขั้นตอนที่ 2 เลือกข้อมูลพื้นฐานที่เก็บอยู่ในตารางหลักของ business process ขั้นตอนที่ 3 เลือก dimension ที่จะถูกนำมาใช้กับแต่ละแถว ของตารางหลัก ขั้นตอนที่ 4 เลือก measured fact (ข้อมูลที่มีการวัด, การประมวลผล หรือการคำนวณไว้แล้ว)