4.5 Mil. Years Lava (Gas), ICE Age Life: Single Cell.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ทฤษฎีใหม่.
Advertisements

ENVIRONMENTAL SCIENCE
รายได้และรายจ่ายของตนเองและครอบครัว
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ
แนวทางการศึกษาด้านเศรษฐกิจ สังคม และเศรษฐศาสตร์
ฤาประเทศไทยจะเกิดวิกฤติอาหารในอนาคต : มุมมองด้านเทคโนโลยี
Physiology of Crop Production
ไฮโดรโปนิกส์ Hydroponics.
การปฏิวัติอุตสาหกรรม Industrial Revolution
ปุ๋ยหมักชีวภาพ Effective Microorganisms
ผักปลอดภัยจากสารพิษ นางสาววรรณิศา เลี่ยมดำ ภาคพัฒนาการเกษตร
การป้องกันกำจัดศัตรูพืชแบบผสมสาน
เกษตรตามแนว ทฤษฏีใหม่
4.5 Mil. Years Lava (Gas), ICE Age Life: Single Cell.
การปรับปรุงพันธุ์พืชเพื่อต้านทานโรคและแมลง
Green Village บ้านคลองกั่ว หมู่ 7 ต.เขาพระ อ.รัตภูมิ จ. สงขลา.
เทคโนโลยีระบบบำบัดน้ำเสียด้วยพืชกรองน้ำเสีย
Energy and the environment พลังงานและสิ่งแวดล้อม
เศรษฐกิจแบบพอเพียง.
สารมลพิษ โชคชัย บุตรครุธ.
มลพิษทางอากาศ โชคชัย บุตรครุธ.
วิกฤตการณ์ทรัพยากรป่าไม้ในประเทศไทย
บทที่ 2 สภาพแวดล้อมที่มีผลกระทบต่อการค้าระหว่างประเทศ
อาจารย์วีระศักดิ์ สืบเสาะ
เทคโนโลยีชีวภาพ เสาวลักษ์ สารรัมย์.
จัดทำโดย ด.ช.วริศ วิโรจนวัธน์
เทคโนโลยีปุ๋ย ปุ๋ย หมายถึง สารหรือสิ่งซึ่งเราใส่ลงไปในดิน เพื่อวัตถุประสงค์ให้ปลดปล่อยธาตุอาหารพืชโดยเฉพาไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม พืชสามารถเจริญเติบโตงอกงามดีและให้ผลิตผลสูงขึ้น.
สถานการณ์ แนวโน้มและผลกระทบ จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
ส่วนที่ใช้ประโยชน์หลัก – ผล เพื่อการบริโภค
การอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมในการผลิตพืช
คำถามทบทวนวิชา
Future Agriculture Wullop Santipracha March 2008.
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
เกษตรอินทรีย์ เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
หลักการสำคัญของเกษตรอินทรีย์
เกษตรอินทรีย์ ชื่อกลุ่ม: ผลไม้ สมาชิกในกลุ่ม
1 ผักปลอดสารพิษ ผลผลิตพืชผักที่ไม่มีสารเคมีป้องกันและกำ จัดศัตรูพืชตกค้างอยู่ หรือมีตกค้างอยู่ไม่เกินระดับมาตรฐานที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนดไว้
สภาพทางเศรษฐกิจ ใน ยุโรป.
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ภาวะโลกร้อน โดย น.ส.สมลักษณ์ แจ่มโฉม รหัส กลุ่ม 10.
วัชพืชที่สำคัญในนาข้าว และการป้องกันกำจัด
การใช้สารเคมี สมาคมอารักขาพืชไทย ได้ถือกำเนิดขึ้นเมื่อปี พ.ศ ใช้ชื่อในขณะนั้นว่า “ สมาคม ผู้ประกอบธุรกิจสารเคมีกำจัดศัตรูพืช : ส.ธ.ก. ( Thai Pesticide.
รายงานสถานการณ์การระบาด 22 จังหวัด
รูปแบบ/ประเภทเกษตรกรรมยั่งยืน และการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
ความสำคัญ ของการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัย โดย ดวงเดือน สมวัฒนศักดิ์ ผู้อำนวยการกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการผลิต สสข.1 ชัยนาท.
โครงการ ส่งเสริมสินค้าเกษตรปลอดภัย(พืชผัก)
โครงการ ส่งเสริมสินค้าเกษตรปลอดภัย(พืชผัก)
ศูนย์บริหารศัตรูพืชจังหวัดสงขลา กรมส่งเสริมการเกษตร
การผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัย (พืชผัก)
งานวิจัยของภาควิชากีฏวิทยา
6.ข้อจำกัดในการพัฒนาปศุสัตว์
พืชแต่งพันธุ์ต้านทานแมลง
ความหลากหลายทางพันธุกรรม คุณลักษณะ และ รูปแบบการถ่ายทอด
( Natural farming) เกษตรธรรมชาติ.
การพัฒนาพื้นที่พิเศษ
ปัญหาสิ่งแวดล้อม.
เกษตรทฤษฎีใหม่.
การบริหารจัดการศัตรูพืชที่สำคัญ โดย
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
นายแพทย์ประดิษฐ์ วินิจจะกูล รองอธิบดีกรมอนามัย
ทรัพยากรในทางเศรษฐศาสตร์
สำรวจสภาพปัญหาและเสนอแนวทางการแก้ปัญหาทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม
863封面 ทองคำ เขียว.
การเจริญเติบโตของพืช
หน่วยการเรียนที่ 2 สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรทางธรรมชาติ
ความหมายและบทบาทของ เทคโนโลยีสารสนเทศ
นางสาวธัญชนก นาคพล ภาควิชา พัฒนาการเกษตร.
พืชแต่งพันธุ์ต้านทานสารกำจัดวัชพืช Herbicide Tolerant Plant
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

4.5 Mil. Years Lava (Gas), ICE Age Life: Single Cell

วิวัฒนาการมนุษย์ Australopithecus afarensis - Homo sapiens 50,000 BC

Homo sapiens

1. Prehistoric Agriculture 12, ,000 BC 12, ,000 BC มนุษย์ปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อม (Adaptation) มนุษย์ปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อม (Adaptation) หลบฝน พายุ และแผ่นดินไหว (Environment factor) หลบฝน พายุ และแผ่นดินไหว (Environment factor) สร้างที่พักอาศัย ตั้งรกราก (Settlement) สร้างที่พักอาศัย ตั้งรกราก (Settlement) หากินด้วยการล่าสัตว์ (Hunter) หากินด้วยการล่าสัตว์ (Hunter) เก็บเมล็ดพืชป่าและรวบรวมไว้ (Gatherer) เก็บเมล็ดพืชป่าและรวบรวมไว้ (Gatherer) ใช้ทรัพยากรในการดำรงชีวิต (Resource) ใช้ทรัพยากรในการดำรงชีวิต (Resource)

Hunter and Gatherers จากล่าสู่เลี้ยง 10,000 BC

ล่าสู่เลี้ยง ตั้ง ถิ่นฐาน เพาะปลูก

Domestication & Cultivation การนำพืชปลูกมาและสัตว์ป่ามา เลี้ยงเพื่อใช้ประโยชน์ Wild Animal & Plants Pea, 10,000 BC Olive, 6,000 BC ????? How Whom Tame Dog, 9,000 BC

การเกษตร (Agriculture) การเกษตร(Agriculture) Animals Plants Seed & Vegetation, Production Enviroment & Ecology Resources Human GenesEnvironment

2. Scientific Agriculture ประชากรของโลกเพิ่มมากขึ้น จึงเพิ่มพื้นที่ เพาะปลูก จากพื้นที่ป่า ประชากรของโลกเพิ่มมากขึ้น จึงเพิ่มพื้นที่ เพาะปลูก จากพื้นที่ป่า มีการสำรวจแหล่งกำเนิดของพืชและสัตว์ (Center of Origin) มีการสำรวจแหล่งกำเนิดของพืชและสัตว์ (Center of Origin) การตั้งชื่อวิทยาศาสตร์ ของพืช สัตว์และ จุลินทรีย์ เช่น ข้าว Oryza sativa ข้าวโพด Zea mays L, Homo sapiens, หมา Canis familiaris เชื้อราสาเหตุ โรคใบไหม้ใน ข้าวโพด Exerohilum turcicum การตั้งชื่อวิทยาศาสตร์ ของพืช สัตว์และ จุลินทรีย์ เช่น ข้าว Oryza sativa ข้าวโพด Zea mays L, Homo sapiens, หมา Canis familiaris เชื้อราสาเหตุ โรคใบไหม้ใน ข้าวโพด Exerohilum turcicum ใช้วิธีวิทยาศาสตร์ มาประยุกต์ในการผลิต การทางเกษตร ใช้วิธีวิทยาศาสตร์ มาประยุกต์ในการผลิต การทางเกษตร เริ่มมีระบบการปลูกพืชพืชหนุนเวียน (Crop Rotation) เริ่มมีระบบการปลูกพืชพืชหนุนเวียน (Crop Rotation) กังหันน้ำ (Wind mill) การชลประทาน ปลูกพืชในฤดูแล้ง กังหันน้ำ (Wind mill) การชลประทาน ปลูกพืชในฤดูแล้ง

Vavilov’s (1926) 12 Centers of origin in the World Rice Cott on Soyb ean Maiz e Potat o Tom ato

3. Colonial Agriculture เกษตรยุคอาณานิคม ประเทศอังกฤษ ฝรั่งเศส เสปน ได้ออกล่าอาณานิคม โดยใช้ กองทัพเรือเข้าโจมตีประเทศด้อยพัฒนา เกษตรยุคอาณานิคม ประเทศอังกฤษ ฝรั่งเศส เสปน ได้ออกล่าอาณานิคม โดยใช้ กองทัพเรือเข้าโจมตีประเทศด้อยพัฒนา เกิดการอพยพเคลื่อนย้าย (migration) ของ ทรัพยากรการเกษตรจากประเทศที่เป็น อาณานิคมกลับสู่ประเทศผู้ล่าอาณานิคม เช่น อังกฤษ ขนทรัพยากรป่าไม้ ฝ้าย ชา สินค้าเกษตรและสินแร่จากประเทศอินเดีย เกิดการอพยพเคลื่อนย้าย (migration) ของ ทรัพยากรการเกษตรจากประเทศที่เป็น อาณานิคมกลับสู่ประเทศผู้ล่าอาณานิคม เช่น อังกฤษ ขนทรัพยากรป่าไม้ ฝ้าย ชา สินค้าเกษตรและสินแร่จากประเทศอินเดีย ฝรั่งเศส ขนทรัพยากร สินแร่ ป่าไม้ พันธุ์พืช จากประเทศลาว เสปนใช้และขน ทรัพยากร จากประเทศฟิลิปปินส์ เป็นต้น ฝรั่งเศส ขนทรัพยากร สินแร่ ป่าไม้ พันธุ์พืช จากประเทศลาว เสปนใช้และขน ทรัพยากร จากประเทศฟิลิปปินส์ เป็นต้น

4. Breeding of Plant & Animal ยุคการใช้วิทยาศาสตร์มาประยุกต์กับการเกษตร โดย เริ่มมีการปรับปรุงพันธุ์พืชและพันธุ์สัตว์ โดยใช้แหล่ง พันธุกรรมที่มีในธรรมชาติ มาประยุกต์ใช้กับทฤษฎีการ ปรับปรุงพันธุ์ จนได้พันธุ์พืชและสัตว์ใหม่ ผลิตเป็น อาหารให้ประชาคมโลก ยุคการใช้วิทยาศาสตร์มาประยุกต์กับการเกษตร โดย เริ่มมีการปรับปรุงพันธุ์พืชและพันธุ์สัตว์ โดยใช้แหล่ง พันธุกรรมที่มีในธรรมชาติ มาประยุกต์ใช้กับทฤษฎีการ ปรับปรุงพันธุ์ จนได้พันธุ์พืชและสัตว์ใหม่ ผลิตเป็น อาหารให้ประชาคมโลก หลักการปรับปรุงพันธุ์พืชและสัตว์ที่ใช้ ได้แก่ การ นำเข้าพันธุกรรมพืชและสัตว์ (introduction) การ คัดเลือกพันธุ์ (selection) และการผสมพันธุ์ (hybridization) หลักการปรับปรุงพันธุ์พืชและสัตว์ที่ใช้ ได้แก่ การ นำเข้าพันธุกรรมพืชและสัตว์ (introduction) การ คัดเลือกพันธุ์ (selection) และการผสมพันธุ์ (hybridization) เริ่มใช้วิธีวิทยาศาสตร์ในการวิจัยการเกษตร (research) ซึ่งได้แก่ การสังเกต (observation) การเก็บตัวเลข (data collection) การวิเคราะห์ผล (analysis) การตีความหมาย (interpretation) และการสรุปผล (conclusion) เริ่มใช้วิธีวิทยาศาสตร์ในการวิจัยการเกษตร (research) ซึ่งได้แก่ การสังเกต (observation) การเก็บตัวเลข (data collection) การวิเคราะห์ผล (analysis) การตีความหมาย (interpretation) และการสรุปผล (conclusion)

5. Mechanical Advances ยุคการพัฒนาเครื่องจักรกล เริ่มมีการพัฒนา เครื่องปั่นด้ายในปี 1973 (cotton gin) จนทำให้ การเกษตรเริ่มเปลี่ยนแปลง จากการผลิตเพื่อยัง ชีพ มาเป็นการผลิตเป็นการค้า โดยมีการปลูก พืชเชิงเดี่ยว (mono-crop) เช่น การปลูกฝ้ายใน ประเทศอเมริกา และพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอ ยุคการพัฒนาเครื่องจักรกล เริ่มมีการพัฒนา เครื่องปั่นด้ายในปี 1973 (cotton gin) จนทำให้ การเกษตรเริ่มเปลี่ยนแปลง จากการผลิตเพื่อยัง ชีพ มาเป็นการผลิตเป็นการค้า โดยมีการปลูก พืชเชิงเดี่ยว (mono-crop) เช่น การปลูกฝ้ายใน ประเทศอเมริกา และพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอ เริ่มมีการใช้เครื่องจักรกลมาแทนแรงม้า จึงเกิด คำว่า Horsepower เริ่มมีการใช้เครื่องจักรกลมาแทนแรงม้า จึงเกิด คำว่า Horsepower ที่เทียบแรงเครื่องจักรกลกับกำลังม้า 1 HP เทียบได้กับการทำงานของม้า 1 ตัว ที่เทียบแรงเครื่องจักรกลกับกำลังม้า 1 HP เทียบได้กับการทำงานของม้า 1 ตัว

6. Pest Control ยุคการป้องกันกำจัดศัตรูพืชด้วยสารเคมี เริ่มมี การป้องกันกำจัดสัตว์ศัตรูพืช (pest) ได้แก่ สัตว์ ศัตรูพืช หนู โรคพืช แมลง และวัชพืช ด้วย สารเคมี เช่น DDT ยุคการป้องกันกำจัดศัตรูพืชด้วยสารเคมี เริ่มมี การป้องกันกำจัดสัตว์ศัตรูพืช (pest) ได้แก่ สัตว์ ศัตรูพืช หนู โรคพืช แมลง และวัชพืช ด้วย สารเคมี เช่น DDT มีการผลิตสารเคมีกำจัดแมลง (insecticide) สารเคมีป้องกันกำจัดเชื้อรา (fungicide) สารเคมี ป้องกันกำจัดวัชพืช (herbicide) เพื่อใช้ในการ เพิ่มผลผลิตการเกษตร ทำให้มีผลผลิตสูงขึ้น และคุณภาพดี มีการผลิตสารเคมีกำจัดแมลง (insecticide) สารเคมีป้องกันกำจัดเชื้อรา (fungicide) สารเคมี ป้องกันกำจัดวัชพืช (herbicide) เพื่อใช้ในการ เพิ่มผลผลิตการเกษตร ทำให้มีผลผลิตสูงขึ้น และคุณภาพดี ซึ่งในปัจจุบันมีการคำนึงถึงพิษตกค้างและ สุขภาพอนามัยมากขึ้น จึงมีการรณรงค์การลดใช้ สารเคมีในการผลิตการเกษตร และหันมาใช้วิธี ป้องกันศัตรูพืชโดยชีววิธี หรือ Biological Control ที่ใช้แมลงที่เป็นประโยชน์ในการกำจัด เพลี้ยอ่อนในข้าวโพด เช่น แมลงหางหนีบ ซึ่งในปัจจุบันมีการคำนึงถึงพิษตกค้างและ สุขภาพอนามัยมากขึ้น จึงมีการรณรงค์การลดใช้ สารเคมีในการผลิตการเกษตร และหันมาใช้วิธี ป้องกันศัตรูพืชโดยชีววิธี หรือ Biological Control ที่ใช้แมลงที่เป็นประโยชน์ในการกำจัด เพลี้ยอ่อนในข้าวโพด เช่น แมลงหางหนีบ

7. Transport ยุคการพัฒนาการขนส่งสินค้า มีการสร้างถนน ขุดคลอง และสร้างทางรถไฟ ทำให้การขนส่ง สินค้าเกษตรในระยะทางไกลและสะดวกขึ้น เริ่ม มีการค้าขายสินค้าการเกษตรระหว่างประเทศ มากขึ้น ยุคการพัฒนาการขนส่งสินค้า มีการสร้างถนน ขุดคลอง และสร้างทางรถไฟ ทำให้การขนส่ง สินค้าเกษตรในระยะทางไกลและสะดวกขึ้น เริ่ม มีการค้าขายสินค้าการเกษตรระหว่างประเทศ มากขึ้น ผลลัพธ์ที่ตามมาคือ การใช้ทรัพยากรน้ำมันเพิ่ม (Fossil fuel) มากขึ้น ผลลัพธ์ที่ตามมาคือ การใช้ทรัพยากรน้ำมันเพิ่ม (Fossil fuel) มากขึ้น ปัจจุบันจึงมีการวิจัยพัฒนาพลังงานทดแทน น้ำมัน และต้องคำนึงถึงการขนส่งที่ประหยัดและ มีประสิทธิภาพสูงสุด (logistics and supply chain) ปัจจุบันจึงมีการวิจัยพัฒนาพลังงานทดแทน น้ำมัน และต้องคำนึงถึงการขนส่งที่ประหยัดและ มีประสิทธิภาพสูงสุด (logistics and supply chain)

8. Green Revolution ( การปฏิวัติ เขียว ) การเพิ่มผลผลิตการเกษตร เพื่อให้ เพียงพอกับประชากรของโลก การเพิ่มผลผลิตการเกษตร เพื่อให้ เพียงพอกับประชากรของโลก 1. การใช้พันธุ์พืชใหม่ผลผลิตสูง (New crop cultivars) 2. การชลประทาน (Irrigation) เพื่อให้ ปลูกพืชในฤดูแล้ง 2. การชลประทาน (Irrigation) เพื่อให้ ปลูกพืชในฤดูแล้ง 3. การใช้ปุ๋ย (Fertilizer) 3. การใช้ปุ๋ย (Fertilizer) 4. การใช้สารป้องกันกำจัดศัตรูพืช (Pesticide) 4. การใช้สารป้องกันกำจัดศัตรูพืช (Pesticide) 5. การใช้เครื่องจักรกลการเกษตร (Mechanization) 5. การใช้เครื่องจักรกลการเกษตร (Mechanization)

2009

D r. B o r l a u g D r. M c C o u c h Source: Prof. Dr. Coffman Oct 28, 08