รหัสวิชา SOHU0022 Information Literacy

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
E-learning วิทยาลัยราชพฤกษ์.
Advertisements

ฐานข้อมูลที่ครอบคลุมทุกสาขาวิชา ฐานข้อมูลนี้ให้บริการข้อมูลในรูปแบบของบทคัดย่อ (Abstract) แต่หากรายการใดเป็นรายการที่ปรากฏอยู่ในวารสารที่ห้องสมุดบอกรับในรูปของ.
สรุป H.W. Wilson โดย... จิรวัฒน์ พรหมพร บริษัท บุ๊ค โปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส จำกัด.
อาจารย์เอกนฤน บางท่าไม้ ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา
โดย : จิรวัฒน์ พรหมพร ปรับปรุงครั้งล่าสุด 18/07/49.
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
วารสารออนไลน์ เฉพาะทางเกี่ยวกับโรคผิวหนัง
หน่วยที่ 2 การศึกษากับการรู้สารสนเทศ
ทรัพยากรสารสนเทศ.
การค้นข้อมูล 1. ความหมายของสารสนเทศ (Information)
ศูนย์บริการสารสนเทศทางเทคโนโลยี (ศสท.)
รศ. ดร. สมศักดิ์ คงเที่ยง
ปรับปรุงครั้งล่าสุด 30/03/50 โดย จิรวัฒน์ พรหม พร บริษัท บุ๊ค โปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส จำกัด แผนกฝึกอบรม ฐานข้อมูล.
สอบรายวิชา การใช้ทรัพยากรห้องสมุด
Online Public Access Catalog
การใช้งานฐานข้อมูล Springer Link
กัญญากานต์ นนทิวัฒน์วณิช Thailand Country Manager EBSCO Publishing
เครือข่ายวิชาชีพห้องสมุด
การเขียนขยายเค้าโครงเอกสารแต่ละบท ให้มีเนื้อหาสมบูรณ์
รหัสวิชา SOHU 0022 Information Literary
ของวิชา การรู้สารสนเทศInformation Literacy
รหัสวิชา SOHU0022 Information Literacy
รหัสวิชา SOHU 0022 Using Information Systems
รหัสวิชา SOHU0022 Information Literacy ครั้งที่ 10 หนังสืออ้างอิง
จดหมายเหตุมหาวิทยาลัยอิเล็กทรอนิกส์ กับระบบห้องสมุดอัตโนมัติ
การสัมมนา PULINET วิชาการ ครั้งที่ 4 23 มกราคม 2557
93343 หลักโภชนศาสตร์ และอาหารสัตว์
การแนะนำการใช้ฐานข้อมูล SpringerLink eBooks
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
Emerald Management eJournals
การสืบค้นสารสนเทศ ด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
การใช้งานฐานข้อมูล SpringerLink
หน่วยที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องกับการวิจัย
หนังสืออ้างอิง.
เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต
สารสนเทศ : ความหมาย ความสำคัญ แหล่งสารสนเทศ
โดย จิรวัฒน์ พรหม พร บริษัท บุ๊ค โปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส จำกัด แผนกฝึกอบรม ฐานข้อมูล ปรับปรุงครั้งล่าสุด 18/11/51.
กระบวนการค้นหาสารสนเทศ
ปรับปรุงล่าสุด 20/01/53 สรุป ACM Digital Library โดย... จิรวัฒน์ พรหมพร แผนกสนับสนุนฝ่ายทรัพยากร อิเล็กทรอนิกส์ทางการศึกษา บริษัท บุ๊ค.
บทที่ 3 กระบวนการแสวงหาและนำเสนอสารสนเทศ
สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
กระบวนการทำแผนการจัดการเรียนรู้
รองศาสตราจารย์ปัญญา สุขแสน มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ 2547
สื่อความรู้เบื้องต้นทาง บรรณารักษศาสตร์ ( 4 ). การดำเนินงานภายใน ห้องสมุด ห้องส มุด จะให้บริการได้ดีสมบูรณ์ ต้อง ประกอบด้วย องค์ประกอบต่อไปนี้ วัสดุห้องสมุด.
สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยฟาร์ อีสเทอร์น. เวลาทำการ A-FAR วันจันทร์ - ศุกร์ น. วันเสาร์ - อาทิตย์ น. U-FAR วันจันทร์ - ศุกร์
ใบความรู้ เรื่อง สื่อสารสนเทศในแบบต่างๆ
ฐานข้อมูล Science Direct
การวิเคราะห์เนื้อหา.
การสืบค้นสารนิเทศInformation Retrieval
การเขียนแบบเสนอหัวข้อโครงงาน
การใช้งานฐานข้อมูล H.W. Wilson การใช้งานฐานข้อมูล H.W. Wilson โดย จิรวัฒน์ พรหม พร บริษัท บุ๊ค โปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส จำกัด โครงการพัฒนาเครือข่ายระบบห้องสมุด.
การสืบค้นทรัพยากรห้องสมุด (OPAC: Online Public Access Catalog)
การแบ่งหนังสือออกตามลักษณะการจัดทำและความเหมาะสมของผู้อ่านแต่ละกลุ่ม
นอกจากบรรณานุกรมดังกล่าวแล้ว ยังแบ่งบรรณานุกรมโดยแยกย่อยได้ เช่น
จัดทำโดย เด็กหญิง นันท์นภัส ขะชาติ ชั้น ม.1/13 เลขที่ 24
การบรรยายเรื่อง การใช้ห้องสมุดและการสืบค้นข้อมูล
ความหมายของการวิจารณ์
หัวเรื่องสำหรับหนังสือภาษาไทย สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
เทคโนโลยีสารสนเทศ.
หนังสือที่ให้เรื่องราว ข้อเท็จจริง ต่าง ๆ มีการเรียงลำดับ อย่างเป็นระบบ และมี เครื่องมือช่วยค้นที่ดี ทำ ให้สะดวก และรวดเร็วในการค้น.
การดำเนินงานห้องสมุดเฉพาะ และศูนย์สารสนเทศ
ทฤษฎีการเรียนรู้ กับการพัฒนานวัตกรรม
การเขียนรายงานผลการวิจัย
สื่อการสอนวิชาคอมพิวเตอร์
ScienceDirec t จัดทำโดย ปทุมทิพย์ ลิ้มพงศานุ รักษ์
การสืบค้นสารสนเทศ สื่อบุคคล - แบบสอบถาม - การสัมภาษณ์
นโยบายการพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ
บทที่ 5 การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
การนิยามศัพท์ การทำวิจัยจะต้องมีการนิยามศัพท์ เพราะคำศัพท์มีหลายความหมาย ผู้วิจัยจำเป็นต้องนิยามคำศัพท์ เพื่อให้ผู้อ่านเข้าใจเข้าใจความหมายที่ใช้ในงานวิจัยเรื่องนี้
 ฐานข้อมูลวารสารวิชาการครอบคลุมเนื้อหา ทั้งในสาขาวิชามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และการแพทย์  ผู้ใช้สามารถสืบค้นได้ตั้งแต่วารสารปีปัจจุบัน.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

รหัสวิชา SOHU0022 Information Literacy ครั้งที่ 7 วารสาร และสื่อการเรียนรู้ วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม 1. รู้ เข้าใจความหมายของทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด 2. รู้ เข้าใจวิธีจัดเก็บ และวิธีสืบค้นทรัพยากรสารสนเทศ

สิ่งตีพิมพ์ หนังสือพิมพ์ สิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง จุลสาร หนังสือ จดหมายข่าว หนังสือชี้ชวน สิ่งพิมพ์รัฐบาล กฤตภาค คู่มือนักศึกษา

Journal Magazine วิชาการ ไม่วิชาการ สิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง กึ่งวิชาการ

วิธีจัดเก็บวารสาร มี 3 ขั้นตอน วิธีจัดเก็บวารสาร มี 3 ขั้นตอน 1. วารสารฉบับล่าสุด Current issue 2. วารสารล่วงเวลา Back issue 3. วารสารเล่มเย็บ (เย็บเล่ม) Bounded issue

เครื่องมือค้นหาบทความในวารสาร * โปรแกรมดรรชนีวารสารไทย *

วารสารฉบับปฐมฤกษ์ ราย 2 เดือน วารสารฉบับปฐมฤกษ์ ราย 2 เดือน ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 (มกราคม - กุมภาพันธ์ 2546) ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (มีนาคม - เมษายน 2546)

ใช้ไฟฟ้า สิ่งไม่ตีพิมพ์ สื่อดิจิตอล ไมโครฟิล์ม CD ไมโครฟิช CD-ROM ฐานข้อมูลออนไลน์ ไมโครแจ็คเก็ส

วิธีใช้โปรแกรมดรรชนีวารสารไทย เพื่อค้นหาบทความวารสารภาษาไทย

หัวเรื่อง คือ คำ (ทั่วไป, เฉพาะ) กลุ่มคำ หรือ วลี ที่ใช้แทนเนื้อหาสาระ ของหนังสือในห้องสมุด (ทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด) มักเป็นคำสั้นๆ กะทัดรัด ครอบคลุมเนื้อเรื่อง

บรรณารักษ์ เป็นผู้วิเคราะห์เนื้อหาและกำหนดคำมาใช้เป็นหัวเรื่อง หนังสือภาษาไทย ใช้หนังสือหัวเรื่องสำหรับหนังสือภาษาไทย หนังสือภาษาต่างประเทศ ใช้ Library of Congress Subject Headings

ลักษณะของคำที่ใช้เป็นหัวเรื่อง 1. คำนามเดี่ยว เช่น ปลา ครู สัตว์ พืช Computers Ergonomics (การยศาสตร์) Cookery

2. คำผสม หรือกลุ่มคำ เช่น ยานอวกาศ หินฟันม้า สตรีชนบท ผู้นำแรงงาน วงจรไฟฟ้า Professional ethics Coffee cake Biotechnology

3. วลี คำนาม สองคำ เชื่อมด้วยคำว่า และ หรือ กับ (ภาษาอังกฤษใช้ and) ป่าไม้ และ การป่าไม้ พยาบาล กับ ผู้ป่วย พุทธศาสนา กับ ศาสนาอิสลาม

3. วลี (ต่อ) อาจใช้คำสันธานอื่นๆ เช่น สำหรับ จาก ใน 3. วลี (ต่อ) อาจใช้คำสันธานอื่นๆ เช่น สำหรับ จาก ใน เช่น สังคมสงเคราะห์สำหรับคนติดสุรา ผลกระทบจากนวัตกรรมทางเทคโนโลยี ความซึมเศร้าในวัยรุ่น Colleges and Universities Women in the labor movement

4. คำที่มีคำอธิบายอยู่ในวงเล็บ เช่น DYNACALC (Computer program) พันธุศาสตร์ (พืช) / พันธุศาสตร์ (สัตว์) F-18 (Jet fighter plane) สงคราม (ปรัชญา)

เช่น Chemistry, Inorganic 5. คำที่กลับคำที่ต้องการเน้นมาอยู่ ข้างหน้า (ปัจจุบันไม่นิยมใช้แล้ว) เช่น Chemistry, Inorganic อาหาร, การปรุง อาหาร, การถนอม

เช่น สื่อมวลชน--แง่การเมือง 6. มีคำเป็นหัวเรื่องใหญ่ แล้วแบ่งเป็น หัวเรื่องย่อย เพื่อให้เห็นถึงความเฉพาะเจาะจงของหัวเรื่องใหญ่ เช่น สื่อมวลชน--แง่การเมือง

ภาษาอังกฤษ--พจนานุกรม English language--Grammar 6. หัวเรื่องใหญ่--หัวเรื่องย่อย แบ่งตามวิธีเขียน ภาษาอังกฤษ--พจนานุกรม English language--Grammar

ไทย--ประวัติศาสตร์--กรุงสุโขทัย, 1800 - 1900 6. หัวเรื่องใหญ่--หัวเรื่องย่อย (ต่อ) แบ่งตามเหตุการณ์ ไทย--ประวัติศาสตร์--กรุงสุโขทัย, 1800 - 1900

อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว--มาเลเซีย ไทย--การค้าระหว่างประเทศ--ญี่ปุ่น 6. หัวเรื่องใหญ่--หัวเรื่องย่อย (ต่อ) แบ่งตามสภาพภูมิศาสตร์ อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว--มาเลเซีย พุทธศาสนา--ไทย ไทย--การค้าระหว่างประเทศ--ญี่ปุ่น

คำสำคัญ (Keyword) อาจเรียก คำแทนสาระ

คำสำคัญ คือ คำ กลุ่มคำ วลีที่ใช้แทนความหมายของเนื้อเรื่อง คำสำคัญ คือ คำ กลุ่มคำ วลีที่ใช้แทนความหมายของเนื้อเรื่อง นิยมใช้ในการทำเครื่องมือช่วยค้น บทความวารสาร

งานมอบหมาย ให้นักศึกษาทุกกลุ่ม เข้าไปใช้ IntraPAC แล้วจดหัวเรื่องที่พบ ให้ได้ครบทั้ง 6 ลักษณะ เช่น หัวเรื่องคำนามเดี่ยว : ม้า หัวเรื่องคำผสม : ไมโครคอนโทรลเลอร์ หัวเรื่องที่เป็นวลี : โปรแกรมควบคุมคอมพิวเตอร์