Points, Lines and Planes

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
จัดทำโดย นางวรวรรณ ชะโลธาร
Advertisements

จุด ส่วนของเส้นตรง เส้นตรง รังสี มุม
การพิสูจน์ทางคณิตศาสตร์
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
การเขียนหุ่นนิ่งรวม.
คณิตศาสตร์เพิ่มเติ่ม ค เรื่อง วงกลม โดย ครูนาตยา บุญเรือง
รู ป ว ง ก ล ม พัฒนาโดย นายวรวุธ อัครกตัญญู
พื้นที่ผิวและปริมาตร
สภาพแวดล้อมการทำงานคอมพิวเตอร์กราฟิกส์ การบรรยายครั้งที่ 4
ทัศนศาสตร์(Optics) วิชาศึกษาธรรมชาติแสงและการมองเห็น.
แผ่นแผนที่ (แผ่นล่าง)
ความเท่ากันทุกประการ
การแปลงทางเรขาคณิต F M B N A/ A C/ C B เสถียร วิเชียรสาร ขอบคุณ B/
บทที่ 6 การเขียนภาพสามมิติ ภาพอ็อบลีก
บทที่ 6 การเขียนภาพสามมิติ ส่วนที่ 1
บทที่ 3 การเขียนภาพฉายในระนาบสองมิติ (ส่วนที่ 2)
ระนาบอ้างอิงและวิวช่วย (Reference Plane and Auxiliary View)
จุด เส้น และระนาบ จุดเจาะระหว่างเส้นกับระนาบ
ระนาบอ้างอิงและวิวช่วย (Reference Plane and Auxiliary View)
สับเซต ( Subset ) นิยาม กำหนดให้ A และ B เป็นเซตใด ๆ เรากล่าวว่า A เป็นสับเซต B ก็ต่อเมื่อ สมาชิกทุกตัวของ A เป็นสมาชิกของ B ใช้สัญลักษณ์
กราฟ พื้นที่ และ ปริมาตร
เส้นตรงและระนาบในสามมิติ (Lines and Planes in Space)
ค่าสุดขีดและจุดอานม้า Extreme Values and Saddle Points
เส้นตรงและระนาบในสามมิติ (Lines and Planes in Space)
Chapter 5 การประยุกต์ของ อินทิกรัล Applications of Integrals.
อนุพันธ์อันดับหนึ่ง ( First Derivative )
ข้อ4.จงพิจารณาการผ่านขั้ว การสมมาตรกับแกนขั้ว กับเส้นตรง
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
Function and Their Graphs
Quadratic Functions and Models
วิธีคิดนอกกรอบ สร้างสรรค์อย่าง มีไอเดียแบบเฉพาะตัว
การจัดแสงสำหรับงานโทรทัศน์
การสร้างเกี่ยวกับส่วนของเส้นตรง
เลนส์นูน.
สมบัติของคลื่น การสะท้อน
ผลิตโดย นางศรีไพ จิตอารี โรงเรียนเมืองแงง อำเภอปัว จังหวัดน่าน
เ ฮี ย น ฟิ สิ ก ส์ โ ต ย ค รู โ อ๊ บ
วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน รหัสวิชา ค ครูผู้สอน นางสาวสมใจ จันทรงกรด
โดย ครูเพ็ญนภา ทองนุ่ม
นางสาวอารมณ์ อินทร์ภูเมศร์
นางสาวอารมณ์ อินทร์ภูเมศร์
นางสาวอารมณ์ อินทร์ภูเมศร์
ภาพฉายหลายมุมมอง (Multiview Projection )
สภาพแวดล้อมการทำงานคอมพิวเตอร์กราฟิกส์ การบรรยายครั้งที่ 7
การเขียนรูปทรงเรขาคณิต
วิทยาลัยการอาชีพบัวใหญ่
พีระมิด.
วงรี ( Ellipse).
การจัดองค์ประกอบของภาพ
การเขียนภาพพิคโทเรียล (Pictorial Drawing )
การสะท้อนแสงบนกระจกเงา
การสะท้อนแสงของผิวโค้ง
แบบฝึกหัด จงหาคำตอบที่ดีที่สุด หรือหาค่ากำไรสูงสุด จาก
ทบทวนความรู้เดิม (Activate Prior Knowledge)
ไฮเพอร์โบลา (Hyperbola)
โดยครูศกุนต์ ก้อนแก้ว
รูปทรงเรขาคณิต จัดทำโดย เด็กชายสุวพิชญ์ สินธุแปง ชั้น ม. 1/4 เลขที่ 14
บทนิยาม ไฮเพอร์โบลา คือ เซตของจุดบนระนาบ ซึ่งผลต่างของระยะทางจุดเหล่านี้ไปยังจุดคงที่สองจุดบนระนาบ มีค่าคงตัวซึ่งมากกว่าศูนย์ แต่น้อยกว่าระยะห่างระหว่างจุดคงที่สองจุดนั้น.
การหักเหของแสงในตัวกลางต่างชนิดกัน
"" การพิจารณาองค์ประกอบในการถ่ายรูป "" หลักพื้นฐานในการพิจารณาองค์ประกอบในการออกแบบก่อน องค์ประกอบในการออกแบบ.
พื้นที่ผิวและปริมาตรกรวย
ระยะห่างระหว่างจุดสองจุด
เรื่อง บอนสี จัดทำโดย ด. ญ. อาทิตย์ยา ผูกพัน เลขที่ 21 ชั้น ม
สื่อการสอนคณิตศาสตร์
บทที่ 1 เรขาคณิตเบื้องต้น
แบบทดสอบชุดที่ 1 คำชี้แจง จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียวทำลงในกระดาษคำตอบที่กำหนดให้
ความชันและสมการเส้นตรง
บทที่ 1 จำนวนเชิงซ้อน.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ลิมิตและความต่อเนื่องของฟังก์ชัน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Points, Lines and Planes จุดเส้นและระนาบ Points, Lines and Planes เป็นการประยุกต์ใช้การเขียนวิวช่วยกับการมอง จุด เส้น และระนาบ ซึ่งในที่นี้จะศึกษาเฉพาะในส่วนของ การหาความยาวจริงของเส้น การหาขนาดจริงของระนาบ การตัดกันระหว่างเส้นกับระนาบ และการตัดกันระหว่างระนาบกับระนาบ และรวมไปถึงการแสดงการมองเห็นเมื่อเส้นกับระนาบนั้นมีการตัดกัน

จุดที่อยู่บนเส้น จุดที่อยู่บนเส้นต้องเห็นอยู่บนเส้นเสมอทุกวิว ถ้ามีวิวใดวิวหนึ่งปรากฏว่าจุดนั้นอยู่นอกเส้นแสดงว่าจุดไม่ได้อยู่บนเส้นนั้นจริง

เส้นตัดกันและเส้นไม่ตัดกัน เส้นตรงที่ตัดกันจริงต้องเห็นจุดตัดอยู่ในแนวเดียวกันระหว่างสองวิว

เส้นขนานกัน เส้นที่ขนานกันต้องปรากฏขนานกันเสมอในทุกวิว

เส้นความยาวจริง การหาเส้นความยาวจริงของเส้นตรงใดๆ หาได้โดยใช้วิธีวิวช่วย โดยให้เส้นสายตามองตั้งฉากกับเส้นตรงนั้น

วิวจุดของเส้น การหาวิวจุดของเส้นตรงใดๆ จำเป็นต้องหาความยาวจริงของเส้นตรงนั้นก่อน แล้วมองในแนวที่เส้นสายตาขนานกับเส้นความยาวจริงนั้นจึงได้วิวจุดของเส้นตรงนั้น

การเขียนเส้นลงบนระนาบ นิยามเกี่ยวกับเส้นและระนาบในวิชาเขียนแบบ 1. สามารถต่อเส้นให้มีความยาวเพิ่มขึ้นได้ ตามแนวของเส้นตรงเดิม 2. ระนาบสามารถขยายให้มีระนาบใหญ่ขึ้นได้อย่างไม่จำกัด

การเขียนเส้นระดับ เส้นด้านหน้าและเส้นด้านข้าง ลงบนระนาบ

การเขียนขอบวิวของระนาบ

การเขียนขนาดจริงของระนาบ