ข้อสอบ O-Net การเคลื่อนที่แนวตรง.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระบบสมการเชิงเส้น F M B N เสถียร วิเชียรสาร.
Advertisements

การชน (Collision) ในการชนกันของวัตถุ วัตถุแต่ละชิ้น จะเกิดการแลกเปลี่ยนความเร็ว และทิศทางในการเคลื่อนที่ โดยอาศัยกฎการอนุรักษ์โมเมนตัม.
แอ่วเชียงฮายโต้ยกันนะเจ้า...า..า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ข้อสอบ o-Net.
เสียง ข้อสอบ o-Net.
ข้อสอบ o-Net คลื่นกล.
การเคลื่อนที่.
10 บัญญัติ ประหยัดน้ำมัน
สนามกีฬา.
2.1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
สมดุลกล (Equilibrium) ตัวอย่าง
(Impulse and Impulsive force)
ลองคิดดู 1 มวล m1 และมวล m2 วิ่งเข้าชนกันแล้วสะท้อนกลับทางเดิม ความเร่งหลังชนของมวล m1 และ m2 เท่ากับ 5 m/s2 และ 2 m/s2 ตามลำดับ ถ้า m1 มีมวล 4 kg มวล.
สอบท้ายบท เรื่อง เวกเตอร์
สาระการเรียนรู้ อัตราส่วน สัดส่วน ร้อยละ การแก้ปัญหาเกี่ยวกับร้อยละ.
ฝึกคำนวณค่าโทรศัพท์มือถือ
เรื่อง เวลา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
บทที่ 3 การเคลื่อนที่.
ขั้นตอนทำโจทย์พลศาสตร์
ตัวอย่าง วัตถุก้อนหนึ่ง เคลื่อนที่แนวตรงจาก A ไป B และ C ตามลำดับ ดังรูป 4 m A B 3 m 1 อัตราเร็วเฉลี่ยช่วง A ไป B เป็นเท่าใด.
โมเมนตัมและการชน.
Rigid Body ตอน 2.
2. การเคลื่อนที่แบบหมุน
ดวงอาทิตย์ขึ้นทางทิศตะวันออก เวลา น. ไปตกยังทิศตะวันตก เวลา 18
เซอร์ ไอแซค นิวตัน Isaac Newton
โพรเจกไทล์ การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์         คือการเคลื่อนที่ในแนวโค้งพาราโบลา ซึ่งเกิดจากวัตถุได้รับความเร็วใน 2 แนวพร้อมกัน คือ ความเร็วในแนวราบและความเร็วในแนวดิ่ง.
การวิเคราะห์ข้อสอบ o-net
บทที่ 1 อัตราส่วน.
การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (Motion in one dimeusion)
1 บทที่ 7 สมบัติของสสาร. 2 ตัวอย่าง ความยาวด้านของลูกบาศก์อลูมิเนียม มีค่าเท่าใด เมื่อน้ำหนักอลูมิเนียมมีค่าเท่ากับ น้ำหนักของทอง กำหนดความหนาแน่น อลูมิเนียม.
บทที่ 1เวกเตอร์สำหรับฟิสิกส์ จำนวนชั่วโมงในการบรรยาย 3 ชั่วโมง
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
การเรียนรู้ คณิตศาสตร์
การเคลื่อนที่แบบโปรเจกไทล์ (Projectile motion)
ตัวอย่างปัญหาการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
รายงาน วิชา ET694 (Solar Energy)
มาสเตอร์วุฒินันท์ สิงห์เผ่น กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ระบบอนุภาค.
การวัด จรรยา สินถาวร.
เครื่องเคาะสัญญาณ.
โรงเรียนชุมชนบ้านบือแนปีแน สพป.ปัตตานี เขต 2
52. ยิงลูกปืนออกไปในแนวระดับ ทำให้ลูกปืนเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ ตอนที่ลูกปืน กำลังจะกระทบพื้น ข้อใดถูกต้องที่สุด (ไม่ต้องคิดแรงต้านอากาศ) 1. ความเร็วในแนวระดับเป็นศูนย์
ผลิตโดย นางศรีไพ จิตอารี โรงเรียนเมืองแงง อำเภอปัว จังหวัดน่าน
การแปรผันตรง (Direct variation)
การกระจัด ความเร็ว อัตราเร็ว
การคำนวณค่าไฟฟ้า.
คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 โดย อ.ดิลก อุทะนุต.
ไฟฟ้ากระแสตรง Direct Current
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์ (Projectile Motion) จัดทำโดย ครูศุภกิจ
วัตถุประสงค์ในการจัดงาน ส่งเสริมการออกกำลังกายของประชาชนเพิ่มขึ้น และต่อเนื่อง เฉลิมฉลองครบรอบ 118 ปีก่อตั้งเมืองอุดรธานี ส่งเสริมการท่องเที่ยวจังหวัดอุดรธานี
คลื่น คลื่น(Wave) คลื่น คือ การถ่ายทอดพลังงานออกจากแหล่งกำหนดด้วยการ
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
ราคาตั้งแต่ 20,000 บาท ขึ้นอยู่กับประสิทธิภาพและ ความละเอียดของข้อมูล ต้องใช้พลังงานจากเรือยนต์
งานเครื่องยนต์ แก๊สโซลีน
สรุปสถิติ ค่ากลาง ค่าเฉลี่ยเลขคณิต เรียงข้อมูล ตำแหน่งกลาง มัธยฐาน
พลังงาน (Energy) เมื่อ E คือพลังงานที่เกิดขึ้น        m คือมวลสารที่หายไป  และc คือความเร็วแสงc = 3 x 10 8 m/s.
การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
หน่วยที่ 1 ปริมาณทางฟิสิกส์ และเวกเตอร์
โครงการประตูระบายน้ำห้วยบังอี่ บ้านนาโพธิ์ ตำบลโพธิ์ไทร
Physics3 s32203 light light2 บทที่ 12 แสงเชิงฟิสิกส์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
กิจกรรมชุดที่ 10 รู้จักแรงเสียดทาน.
หน่วยที่ 7 การกวัดแกว่ง
Application of PID Controller
นางสาวสุพรรษา ธรรมสโรช
รถยนต์วิ่งมาด้วยความเร็วคงที่ 10 เมตร/วินาที ขณะที่อยู่ห่างจากสิ่งกีดขวางเป็นระยะทาง 35 เมตร คนขับก็ตัดสินใจห้ามล้อโดยเสียเวลา 1 วินาที ก่อนห้ามล้อจะทำงาน.
แบบทดสอบก่อนเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง การนำเสนอข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูล คะแนนเต็ม 10 คะแนน.
บทที่ 2 กำหนดการเชิงเส้น : การแก้ปัญหาด้วยวิธีกราฟ (ต่อ)
การรวมแรงที่กระทำต่อวัตถุ
ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 เรื่อง สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 คณิตศาสตร์ ( ค 31101) กราฟและ การนำไปใช้
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ข้อสอบ O-Net การเคลื่อนที่แนวตรง

การเคลื่อนที่แนวตรง 1. 10 s 2. 15 s 1. (O-NET’49)รถยนต์คันหนึ่งวิ่งด้วยอัตราเร็วคง ตัว 20 เมตร/วินาที นานเท่าใดจึงจะเคลื่อนที่ได้ระยะทาง 500 เมตร 1.  10 s       2. 15 s       3. 20 s       4. 25 s

การเคลื่อนที่แนวตรง 1. 3.0 m/s 2. 3.5 m/s 3. 4.0 m/s 4. 4.5 m/s 2. (O-NET’49)เด็กคนหนึ่งออกกำลังกายด้วยการวิ่งด้วยอัตราเร็ว 6 เมตร/วินาที เป็นเวลา 1 นาที วิ่งด้วยอัตราเร็ว 5 เมตร/วินาที อีก 1 นาที แล้ว เดินด้วยอัตราเร็ว 1 เมตร/วินาที อีก 1 นาที จงหาอัตราเร็วเฉลี่ยในช่วงเวลา 3 นาทีนี้       1. 3.0 m/s        2. 3.5 m/s       3. 4.0 m/s     4. 4.5 m/s

1. 14 km 2. 65 km 3. 72 km 4. 79 km การเคลื่อนที่แนวตรง 3. (O-NET’49)คลองที่ตัดตรงจากเมือง A ไปเมือง B มีความยาว 65 กิโลเมตร ขณะที่ถนนจากเมือง A ไปเมือง B มีระยะทาง 79 กิโลเมตร ถ้าชายคนหนึ่งขนสินค้าจากเมือง A ไปเมือง B โดยรถยนต์ ถามว่าสินค้า นั้นมีขนาดการกระจัดเท่าใด           1. 14 km       2. 65 km       3. 72 km       4. 79 km

การเคลื่อนที่แนวตรง 3. 08.30 น. 4. 08.50 น. 4. (O-NET’49)รถยนต์คันหนึ่งวิ่งด้วยอัตราเร็วเฉลี่ย 80 กิโลเมตรต่อชั่วโมง จากเมือง A ไปเมือง B ที่อยู่ห่างกัน 200 กิโลเมตร ถ้าออกเดินทางเวลา 06.00 น. จะถึงปลายทางเวลา เท่าใด           1. 07.50 น.       2. 08.05 น.       3. 08.30 น.       4. 08.50 น.

การเคลื่อนที่แนวตรง 2. ความเร็วเพิ่มขึ้นอย่างสม่ำเสมอ 5. (O-NET’49)ถ้าปล่อยให้ก้อนหินตกจากยอดตึกสู่พื้น การเคลื่อนที่ของก้อนหินก่อนจะกระทบพื้นจะเป็นตามข้อใด ถ้า ไม่คิดแรงต้านของอากาศ           1. ความเร็วคงที่       2. ความเร็วเพิ่มขึ้นอย่างสม่ำเสมอ       3. ความเร็วลดลงอย่างสม่ำเสมอ       4. ความเร็วเพิ่มขึ้นแล้วลดลง

การเคลื่อนที่แนวตรง 6. (O-NET’49)ในการทดลองปล่อยถุงทรายให้ตกแบบ เสรีโดยลากแถบกระดาษผ่านเครื่องเคาะสัญญาณเวลาที่เคาะจุด ทุก ๆ 1/50 วินาที จุดบนแถบกระดาษปรากฏดังรูป ถ้าระยะ ระหว่างจุดที่ 9 ถึงจุดที่ 10 วัดได้ 3.80 เซนติเมตร และระยะ ระหว่างจุดที่ 10 ถึงจุดที่ 11 วัดได้ 4.20 เซนติเมตร ความเร็ว เฉลี่ยที่จุดที่ 10 จะเป็นกี่เมตรต่อวินาที (แบบเติมคำตอบ)         ตอบ............................................ 

การเคลื่อนที่แนวตรง 7. (O-NET’49) A กับ B วิ่งออกำลังกายจากจุด ๆ หนึ่งด้วยอัตราเร็วสม่ำเสมอ 4 เมตร/วินาที และ 6 เมตร/วินาที ตามลำดับ เมื่อเวลาผ่านไป 60 วินาที A กับ B จะอยู่ห่างกันกี่เมตร (แบบเติมคำตอบ) ตอบ....................................................................... 

1. 2 m/s2 2. 4 m/s2 3. 12 m/s2 4. 14 m/s2 การเคลื่อนที่แนวตรง 8. (O-NET'50)รถยนต์คันหนึ่งเคลื่อนที่จากหยุดนิ่งไปบน เส้นทางตรง เวลาผ่านไป 4 วินาที มีความเร็วเป็น 8 เมตร/วินาที ถ้าอัตราเร็วเพิ่มขึ้นอย่างสม่ำเสมอ รถยนต์คันนี้มีความเร่งเท่าใด           1. 2 m/s2       2. 4 m/s2       3. 12 m/s2       4. 14 m/s2

การเคลื่อนที่แนวตรง 9. (O-NET'50)เด็กคนหนึ่งเดินไปทางทิศเหนือได้ ระยะทาง 300 เมตร จากนั้นเดินทางไปทางทิศตะวันออกได้ ระยะทาง 400 เมตร ใช้เวลาเดินทางทั้งหมด 500 วินาที เด็กคนนี้ เดินทางด้วยอัตราเร็วเฉลี่ยกี่เมตร/วินาที           1. 0.2        2. 1.0       3. 1.4       4. 2.0

การเคลื่อนที่แนวตรง 10. (O-NET'50)ในการเคลื่อนที่เป็นเส้นตรง กราฟข้อใดแสดงว่า วัตถุกำลังเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็วคงตัว           1    2.        3   4. 

11. (O-NET'51) รถยนต์คนหนึ่งแล่นด้วย อัตราเร็วคงตัว 20 กิโลเมตร/ชั่วโมง ระยะทางที่ รถยนต์คันนี้แล่นได้ ในเวลา 6 นาที เป็นไปตามข้อใด 1. 0.3 กิโลเมตร 2. 2.0 กิโลเมตร 3. 3.3 กิโลเมตร 2. 120 กิโลเมตร

12. (O-NET'51) เด็กคนหนึ่งวิ่งเป็นเส้นตรงไป ทางขวา 20 เมตร ในเวลา 4 วินาที จากนั้นก็หัน กลับแล้ววิ่งเป็นเส้นตรงไปทางซ้ายอีก 2 เมตร ใน เวลา 1 วินาที ขนาดความเร็วเฉลี่ยของเด็กคนนี้ เป็นไปตามข้อใด 1. 3.5 เมตรต่อวินาที 2. 3.6 เมตรต่อวินาที 3. 6.0 เมตรต่อวินาที 4. 7.0 เมตรต่อวินาที

13. (O-NET'52)

14. (O-NET'52)

15. (O-NET'52)

สวัสดี