ดิน (Soils)
Soils : ดิน แร่ (อนินทรีย์) สารอินทรีย์ (มีและไม่มีชีวิต) อากาศ น้ำ ดิน คือของผสมตามธรรมชาติที่ประกอบด้วย แร่ (อนินทรีย์) สารอินทรีย์ (มีและไม่มีชีวิต) อากาศ น้ำ
Components in soil องค์ประกอบในดิน “ Quartz ”
soil constituents: ส่วนประกอบดิน ทราย ทรายแป้ง และดินเคลย์ อินทรีย์สารชนิดต่าง ๆ ที่ได้จากกระบวนการเน่าเปื่อย จุลชีพ ขุยอินทรีย์ (humus)
Size Comparisons of Soil Particles Sand ทราย (2.00 - 0.05 mm, USDA) (2.00-0.02 mm, ISSS) Silt ทรายแป้ง (0.05 - 0.002 mm, USDA) (0.02-0.002 mm, ISSS) Clay ดินเหนียว (< 0.002 mm) ? > 2.00 mm Sand Gravel > 2.00 mm Silt Clay USDA : United States Department of Agriculture ISSS : International Society of Soil Science
Size Comparisons of Soil Particles
Sand + Silt + Clay = 100% 20 % Sand 30 % Silt 50 % Clay Texture = Clay
ขุยอินทรีย์ (humus)
ขุยอินทรีย์ (humus) Humus (Latin – “soil”)
คุณภาพของดิน(soil quality) Poor Good
Soil formation:การเกิดดิน เกิดจากการผุพังสลายตัวแบบต่างๆของหินต้นกำเนิดผ่านกระบวนการพัดพาแล้วตกตะกอนทับถม http://www.seafriends.org.nz/enviro/soil/geosoil.htm#soil
Factors in soil formation :ปัจจัยในการเกิดดิน parent material วัสดุหินต้นกำเนิด time กาลเวลา climate สภาพภูมิอากาศ topography สภาพภูมิประเทศ Organisms สิ่งมีชิวิต
soil profile:ลำดับชั้นดิน horizon : แบ่งตามแนวดิ่งได้เป็นโซนต่าง ๆ ในแถบแห้งแล้งจะมีความหนาน้อยกว่า 1.0 เมตร ในแถบร้อนขึ้นและฝนตกชุก การผุพังจะเกิดลึกลงไปกว่า 100 เมตร "A soil layer cake: the high water table of the savannah prevents deep root penetration and rapid decay of organic matter, thus forming a black stratum, one foot thick." http://www.lib.ncsu.edu/exhibits/wells/exhibit3b.html
soil profile: ลำดับชั้นดิน O horizon – organic matter A horizon – organic and mineral matter High Biological Activity (animals live here) Together the O and A horizons make up topsoil E horizon – little organic matter Zone of leaching B horizon – zone of accumulation C horizon – partly altered parent material
soil profile: ลำดับชั้นดิน Master horizon designation: ชั้นหลัก Organic horizons: H or O H = wet O = dry
soil profile: ลำดับชั้นดิน A E B C Organic Activity Exited Back Crushed Rock
Soil horizon description Subordinate characteristics of master horizons ชั้นย่อย ใช้อธิบายลักษณะรายละเอียดย่อยในชั้นหลัก c Concretions or nodules f Frozen soil g Gleying evidenced by mottling h Accumulation of organic matter j Jarosite mottling k Accumulation of carbonates m Cementation or induration
Soil horizon description Subordinate characteristics of master horizons n Accumulation of sodium o Residual accumulation of sesquioxides p Ploughing or other disturbance q Accumulation of silica r Strong reduction s Illuvial accumulation of sesquioxides t Accumulation of silicate clay
Soil horizon description Subordinate characteristics of master horizons v Occurrence of plinthite w Development of colour or structure x Fragipan character y Accumulation of gypsum z Accumulation of salts more soluble than gypsum
Soil horizon description A Bw Bk Ck
mature soil: ดินสมบูรณ์ การจัดลำดับชั้นดินอีกแบบ A-Horizon A1 : อินทรียวัตถุ (O horizon) A2 : อินทรียสารผสมกับเม็ดแร่ (A ,E horizon) B-Horizon C-Horizon
A-Horizon A2 = eluvial horizon : การชะล้าง
Animal Activities in “A” horizon
B-Horizon illuvial horizon : หยุดการชะล้าง Accumulation : สะสม
Eluviation & Illuviation
C-Horizon
immature soil: ดินไม่สมบูรณ์ หินกำเนิด ดินไม่สมบูรณ์ ดินสมบูรณ์
Possible ‘stages’ of soil horizon evolution on a sedimentary parent material
soil constituents
Soil Types: ชนิดดิน pedalfer pedocal laterite Evergreen forests ดินลูกรัง (Skeletal soils) Evergreen forests Short grass tropics
Best developed under temperate forest landscapes Pedalfer Accumulation of iron oxides and Al-rich clays in the B horizon. Brown B horizon Best developed under temperate forest landscapes มีการสะสมเหล็กและอลูมิเนียมออกไซด์ในชั้น B เกิดได้ดีในเขตป่าร้อนชื้น
Pedocal White calcium carbonate (caliche) in B horizon Associated with dry grasslands and brush vegetation มีการสะสมหินปูนในชั้น B พบบริเวณเขตทุ่งหญ้าแล้งและไม้พุ่มต่ำ
Laterite Hot and wet tropical climates Intense chemical weathering Red Iron oxide - Topsoil not distinct from B horizon Deep soil but usable nutrients shallow พบในเขตร้อนชื้น มีการผุพังรุนแรงในดินชั้นบน มีการสะสมเหล็กออกไซด์ในชั้น B มากจึงมีสีแดงเข้ม
โครงสร้างดิน (Soil Structure)
Soil Structure ?
โครงสร้างดิน (Soil Structure) โครงสร้างดิน หมายถึง รูปแบบของการยึดและการเรียงตัวของอนุภาคเดี่ยวของดินเป็นเม็ดดินในหน้าตัดดิน เม็ดดินแต่ละชนิดมีความแตกต่างกันทั้งด้านขนาดและรูปร่าง ซึ่งแบ่งออกเป็น 7 ชนิดคือ แบบก้อนกลม (Granular ) แบบก้อนเหลี่ยม (Blocky) แบบแผ่น (Platy) แบบแท่งหัวเหลี่ยม (Prismatic) แบบแท่งหัวมน (Columnar) แบบก้อนทึบ (Massive) แบบอนุภาคเดี่ยว (Single Grained)
Soil Structural Types
แบบก้อนกลม (Granular ) Photo – Thank you Dr. Lindo - NCSU
แบบก้อนเหลี่ยม (Blocky)
แบบแผ่น (Platy) ก้อนดินแบนวางตัวในแนวราบ และซ้อนเหลื่อมกันเป็นชั้น ขัดขวากรากพืช น้ำและอากาศซึมผ่านได้ยาก มักเป็นดินชั้น A ที่ถูกบีบอัดจากการบดไถของเครื่องจักรกลการเกษตร
แบบแท่งหัวเหลี่ยม (Prismatic) ก้อนดินแต่ละก้อนมีผิวหน้าแบนและเรียบ เกาะตัวกันเป็นแท่งหัวเหลี่ยมคล้ายปริซึม ก้อนดินมีลักษณะยาวในแนวดิ่ง ส่วนบนของปลายแท่งมักมีรูปร่างแบน เม็ดดินมีขนาด 1 - 10 เซนติเมตร มักพบในดินชั้น B น้ำและอากาศซึมได้ปานกลาง Photo on the Left – Thank you Dr. Lindo - NCSU
Prismatic soil structure
Prismatic soil structure
แบบแท่งหัวมน (Columnar) มีการจับตัวคล้ายคลึงกับแบบแท่งหัวเหลี่ยม แต่ส่วนบนของปลายแท่งมีลักษณะกลมมน ปกคลุมด้วยเกลือ เม็ดดินมีขนาด 1 - 10 เซนติเมตร มักพบในดินชั้น B และเกิดในเขตแห้งแล้ง น้ำและอากาศซึมผ่านได้น้อย และมีการสะสมของโซเดียมสูง
แบบก้อนทึบ (Massive) เป็นดินเนื้อละเอียดยึดตัวติดกันเป็นก้อนใหญ่ ขนาดประมาณ 30 เซนติเมตร ดินไม่แตกตัวเป็นเม็ด จึงทำให้น้ำและอากาศซึมผ่านได้ยาก
แบบอนุภาคเดี่ยว (Single Grained) ไม่มีการยึดตัวติดกันเป็นก้อน มักพบในดินทราย ซึ่งน้ำและอากาศซึมผ่านได้ดี http://www.lesa.in.th/index.html