การประชุม Mahidol Eco University (การบริหารจัดการขยะ) ครั้งที่ 7

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หมวดหมู่ข้อมูล ข้อมูลด้านพลังงาน ข้อมูลด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม
Advertisements

5ส กำหนดการ วันรวมใจ ส.อ.ท. สุขใจ อบอุ่น ทั่วทุกคน
การจัดการของเสีย โดยวิธีทำให้เป็นก๊าซชีวภาพ
คณะกรรมการบริหารจัดการขยะ มหาวิทยาลัยมหิดล ครั้งที่ 11-1/2557
โครงการรณรงค์การจัดการสิ่งแวดล้อม
โครงการรณรงค์การจัดการสิ่งแวดล้อม
โครงการธรรมชาติเกื้อกูล
รายงานผลการดำเนินงาน ๑ ตุลาคม ๒๕๕๔ – ๓๑ สิงหาคม ๒๕๕๕
นโยบายและแนวทาง การจัดการมูลฝอยติดเชื้อ ของกรุงเทพมหานคร
วาระการประชุม แนวทางการพัฒนาโครงการรณรงค์ ลดการใช้น้ำมันทอดซ้ำเพื่อผลิตไบโอดีเซล วันที่ 16 พ.ค. 56 ณ ห้องประชุมสุมนทา วาระที่ 1 เรื่องประธานแจ้งให้ทราบ.
โครงการสาธารณสุขรวมใจรณรงค์ลดโลกร้อน ด้วยการสุขาภิบาลอย่างยั่งยืนและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ปีงบประมาณ 2554 นางฉันทนา ลิ้มนิรันดร์กุล สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม.
10วิธีลดภาวะโลกร้อน จัดทำโดย
ลดโลกร้อน ด้วยมือเรา.
การประชุม Mahidol Eco University (การบริหารจัดการขยะ) ครั้งที่ 5
วันจันทร์ที่ 11 มิถุนายน 2555 เวลา น.
การประชุม Mahidol Eco University (การบริหารจัดการขยะ) ครั้งที่ 8
การประชุม Mahidol Eco University (การจัดการขยะ) ครั้งที่ 4
การประชุมคณะกรรมการบริหารจัดการขยะ มหาวิทยาลัยมหิดล ครั้งที่ 9
ปุ๋ยหมักชีวภาพ Effective Microorganisms
ธนาคารขยะ (Waste Bank).
การจัดการพลังงานและสิ่งแวดล้อม
เป้าประสงค์ 1 เพื่อให้ภาคสาธารณสุข ตระหนักถึงปัญหา และ ร่วมมือในการลด GHG (green house gas) 2 ส่งเสริมให้ภาคสาธารณสุขแสดงจิตสาธารณะ ในการร่วมลดโลกร้อนด้วยการลดการปลดปล่อย.
การกำหนดมาตรฐานอื่นๆ เรื่องโครงสร้างกายภาพ สิ่งแวดล้อม และความปลอดภัย
การประชุมคณะกรรมการประจำคณะฯ ครั้งที่ 9/2551 วันพฤหัสบดีที่ 21 สิงหาคม 2551 เวลา น. ณ ห้องประชุม 801 อาคารเรียนรวมราชนครินทร์
สารมลพิษ โชคชัย บุตรครุธ.
โครงงานเปียงหลวงร่วมใจ ห่วงใยสิ่งแวดล้อม
การประชุมคณะกรรมการพัฒนาตัวบ่งชี้เพื่อการ
การทำความเข้าใจกับงบทดลอง
เทคโนโลยีชีวภาพ แก๊สชีวภาพ นำเสนอโดย 1. นายทรงศักดิ์ ศรีสันติสุข 2
ปัจจุบันทั่วโลกกำลังประสบปัญหากับวิกฤตการณ์ด้านการขาดแคลนพลังงานและปัญาโลกร้อนจากภาวะเรือนกระจกที่ทุกประเทศต้องร่วมกันแก้ไข ที่ผ่านมาการนำพืชอาหารมาใช้เป็นพลังงานทดแทน.
สารเมลามีน.
ความก้าวหน้าของการจัดการ ลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา
การประชุมคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 1/2554 (ครั้งที่ 1)
การประชุมคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 1/2553 วันพฤหัสบดีที่ 28 มกราคม 2553 เวลา น. ณ ห้องประชุม 3 ชั้น 3 สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน.
G Garbage.
มาตรการควบคุมสินค้าและบริการควบคุม ปี 2554 รายการสินค้าและบริการควบคุม
การพิจารณาเลือกระบบบำบัดน้ำเสีย
มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
ปุ๋ยชีวภาพ Organicfertilizer
ธนาคารมูลฝอย Recycle Waste and Garbage Bank
เรื่องที่ประธานแจ้งให้ทราบ การประชุมคณะทำงาน KM วศ. ครั้งที่ 2/ พค วัตถุประสงค์ของการประชุมครั้งนี้ 1) ทบทวนแผนปฏิบัติการ KM ฯ ปี 48 2)
โรงพยาบาลหนองวัวซอ จ.อุดรธานี วันที่ 29 กรกฎาคม 2554
สาธารณสุขร่วมใจลดภัยโลกร้อน ภายใต้แนวคิดของกรมอนามัย GREEN & CLEAN
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม 1. ระบบประปา 2. ระบบรวบรวมและบำบัดน้ำเสีย
หยุดโลกร้อนด้วยชีวิตพอเพียง
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการดำเนินการ มาตรการประหยัดพลังงาน
คณะกรรมการบริหารจัดการขยะ มหาวิทยาลัยมหิดล ครั้งที่ 12-2/2557
การกำจัดขยะโดยใช้หลัก 3R
การจัดการขยะมูลฝอยในชุมชน
กิจกรรมลดปริมาณขยะก่อนทิ้งในวิทยาลัย
ศูนย์การเรียนรู้ลดโลกร้อน
การดำเนินงานยุวเกษตรกรอย่างไร ให้ประสบผลสำเร็จ
นิติบุคคลอาคารชุด The Next 1อาคาร 3
นายแพทย์ประดิษฐ์ วินิจจะกูล รองอธิบดีกรมอนามัย
Greenergy Health We Care บริษัท บางจากปิโตรเลียม จำกัด (มหาชน)
การเลี้ยงปลาดุกในบ่อพลาสติก (เกษตรพอเพียง)
มลพิษน้ำการป้องกัน 2.
COMMUNITY BASED SOLID WASTE MANAGEMENT
มารู้จัก “ขยะมูลฝอย” กันเถอะ
สรุปผลการจัดตั้งตลาดเกษตรกร ของสหกรณ์การเกษตรสบปราบ จำกัด จังหวัดลำปาง
คณะกรรมการบริหารจัดการขยะ มหาวิทยาลัยมหิดล ครั้งที่ 13-3/2557
การจัดทำเว็บไซต์ เครือข่ายสถาบันอุดมศึกษา เขตภาคกลาง เพื่อพัฒนาบัณฑิตอุดมคติ ไทย วันพฤหัสบดีที่ 24 กุมภาพันธ์ 2554 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
เกษตรอินทรีย์ชีวภาพบ้านตะโกสิงห์หมู่ 9 ตำบลอีสานเขต
การจัดการความรู้ (KM) ปี 2558 สำนักงานเกษตรอำเภอหนองแซง จังหวัดสระบุรี
กระบวนการจัดการมูลฝอย การฝังกลบอย่างถูกหลักสุขาภิบาล
ธนาคารรีไซเคิล โดย ด.ญ. เกศริน วงศ์มาก.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การประชุม Mahidol Eco University (การบริหารจัดการขยะ) ครั้งที่ 7 วันพฤหัสบดีที่ 17 มกราคม 2556 เวลา 13.30 น.

วาระที่ 1 เรื่องแจ้งเพื่อทราบ 1.1 ผลการดำเนินงานโครงการปุ๋ยหมัก ประเภทปุ๋ย ตุลาคม พฤศจิกายน ธันวาคม ยอดจำหน่ายปุ๋ย (ถุงเล็ก) 177 283 122 ยอดจำหน่ายปุ๋ย (ถุงใหญ่) 108 121 100 ยอดจำหน่ายปุ๋ย (แบบเม็ด) 101 21 2 ยอดจำหน่ายปุ๋ย (แบบผง) 3,096 1,000 ยอดจำหน่ายสะสมทั้งเดือน(บาท) 17,115 15,440 12,500

วาระที่ 1 เรื่องแจ้งเพื่อทราบ 1.2 ผลการดำเนินงานโครงการธนาคารขยะรีไซเคิล รายได้ ตุลาคม พฤศจิกายน ธันวาคม สรุปรวมทั้งหมด ปริมาณขยะ (กิโลกรัม) 24,130.70 28,190.55 13,411.50 743,159.06 ยอดจำหน่าย (บาท) ยอดรายรับ (บาท) 21,946.06 26,975.10 11,555.81 683,082.98

วาระที่ 1 เรื่องแจ้งเพื่อทราบ สรุปจำนวนสมาชิกธนาคารขยะรีไซเคิล นักศึกษา 1,350 บุคลากร 519 ร้านค้าในมหาวิทยาลัย 21 คณะ/สถาบัน/หน่วยงาน 62 บริษัทที่ปฏิบัติงานในมหาวิทยาลัย 197 บุคคลภายนอก 20 รวม 2,169

วาระที่ 1 เรื่องแจ้งเพื่อทราบ 1.3 การดูงานโครงการวิทยาเขตสีเขียว (KU Green Campus) ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน

วาระที่ 1 เรื่องแจ้งเพื่อทราบ โครงการคลองสวยน้ำใส มีการปลูกพืชที่มีคุณสมบัติปรับสภาพน้ำเสียและดูดสารโลหะหนักในแหล่งน้ำในมหาวิทยาลัย

วาระที่ 1 เรื่องแจ้งเพื่อทราบ โครงการปุ๋ยหมักในสวน เป็นการนำใบไม้และกิ่งไม้มากองไว้ในบริเวณสวนเมื่อย่อยสลายก็จะเป็นปุ๋ยสามารถนำมาใช้งาน โดยไม่ต้องขนย้ายออกจากพื้นที่

วาระที่ 1 เรื่องแจ้งเพื่อทราบ โครงการก๊าซชีวภาพและน้ำหมักชีวภาพจากขยะสด โดยการนำเศษอาหารที่เกิดขึ้นมาเป็นวัตถุดิบการผลิต และนำก๊าซที่เกิดขึ้น มาใช้กับเครื่องกำเนิดไฟฟ้า

วาระที่ 1 เรื่องแจ้งเพื่อทราบ ธนาคารขยะรีไซเคิล-Green เพื่อเป็นการลดจำนวนปริมาณขยะที่เกิดขึ้นในมหาวิทยาลัยฯ และเป็นบริหารจัดการขยะรีไซเคิลที่มีประสิทธิภาพ และเป็นการสร้างจิตสำนึกที่ดีและการมีส่วนร่วมในการรักษาสิ่งแวดล้อมแก่ นิสิตและประชาชนทั่วไป

วาระที่ 1 เรื่องแจ้งเพื่อทราบ สถานีผลิตไบโอดีเซล โดยการนำน้ำมันพืชที่ใช้แล้วจากร้านจำหน่ายอาหาร หน่วยงานในมหาวิทยาลัยเป็นวัตถุดิบ เพื่อใช้สำหรับรถยนต์ส่วนกลางในมหาวิทยาลัย

วาระที่ 1 เรื่องแจ้งเพื่อทราบ 1.4 การออกแบบที่เก็บถังคัดแยกขยะ

วาระที่ 1 เรื่องแจ้งเพื่อทราบ 1.5 ผลการจัดอันดับของ UI GREENMETRIC WORLD UNIVERSITY RANKING 2012

World Ranking 2012

World Ranking 2012 (Asia)

World Ranking 2012 (Thailand)

Criteria

Waste เพิ่มศักยภาพโดย มีการรณรงค์การ recycle อย่างเต็มรูปแบบ มีการคัดแยกและบำบัดขยะมีพิษ เพื่อนำกลับมาใช้ใหม่บางส่วน มีการนำขยะอินทรีย์ไปย่อยสลายเพื่อใช้ประโยชน์

Waste เพิ่มศักยภาพโดย มีการบำบัดขยะอนินทรีย์ และนำกลับไปใช้ใหม่ได้เต็มรูปแบบ มีการบำบัดน้ำเสียก่อนปล่อยสู่ชุมชนหรือบำบัดแล้วนำกลับมาใช้ใหม่ มีนโยบายการลดการใช้กระดาษ (PA) และพลาสติก

Waste เพิ่มศักยภาพโดย มีนโยบายและกิจกรรมการอนุรักษ์น้ำ (PA) ขอให้ส่วนงานที่ยังใช้น้ำบาดาลให้เปลี่ยนมาใช้น้ำประปา

วาระที่ 1 เรื่องแจ้งเพื่อทราบ 1.6 เชิญรับประทานอาหารเพื่อเป็นการขอบคุณท่านที่ร่วมดำเนินการส่งประกวด UI GREENMETRIC WORLD UNIVERSITY RANKING 2012

วาระที่ 2 รับรองรายงานการประชุม เอกสารประกอบรายงานการประชุมครั้งที่ 6 จากเว็บไซต์กองกายภาพฯ

วาระที่ 3 เรื่องพิจารณา 3.1 นำเสนอแนวคิดโครงการบริหารจัดการจากการศึกษาดูงานของส่วนงาน

วาระที่ 4 เรื่องอื่นๆ