ประวัติการถ่ายภาพ(1) วิชาการถ่ายภาพ ได้มีการพัฒนาต่อเนื่องกันมาหลายร้อยปีตามลำดับ ก่อนจะมีกล้องถ่ายภาพ จนในศตวรรษที่ 19 มนุษย์ก็ประสบความสำเร็จในการคิดค้นกระบวนการสร้างภาพ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สตอรี่บอร์ด (Story board)
Advertisements

การ อบรม โครงการพัฒนาระบบ สารสนเทศชุมชนภายใต้ โครงการจัดตั้งศูนย์การ เรียนรู้ ICT ชุมชน.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับงานกราฟิก
การถ่ายภาพงานพัฒนาชุมชน
Graphic Design for Video
บทที่ 7 การใช้ตัวอักษร สื่อชุดนี้เป็นลิขสิทธิ์ของสำนักพิมพ์วังอักษร ใช้เพื่อการศึกษาเท่านั้น.
ประโยชน์ของ เครื่องโปรเจคเตอร์
น้ำหนักแสงเงา.
น้ำหนักแสงเงาหุ่นนิ่ง
เรื่อง องค์ประกอบศิลป์ โดย นายสมพงษ์ ถาวรโชติวงศ์ โรงเรียนเบญจมราชาลัย
กลุ่ม L.O.Y..
เทคนิคการถ่ายภาพ คณะกรรมการจัดการความรู้ กองกิจการนักศึกษา.
แผนการจัดการเรียนรู้ที่1 ทัศนธาตุและหลักการออกแบบ ม. 3
การวาดเส้นองค์ประกอบศิลป์
ผู้ผลิต นายเชิดชัย ประโปตินัง ตำแหน่ง ครู คศ. 1
กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
ทัศนธาตุคือหัวใจ เป็นบันไดสร้างทัศนศิลป์
รูปแบบการจัดองค์ประกอบ
สื่อประกอบการเรียนรู้
แผนการเรียนรู้ เรื่อง การจัดองค์ประกอบของการถ่ายภาพ
องค์ประกอบ Graphic.
การสร้างงานกราฟิก.
ช่วงความชัดลึกของภาพ ภาพจะมีช่วงความชัดลึกมากหรือ น้อยขึ้นอยู่กับเหตุผล 3 ประการ คือ.
วิชาถ่ายภาพ.
หน่วยที่ 1 หลักการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
3D modeling การสร้างแบบจำลอง 3 มิติ
การจัดแสงสำหรับงานโทรทัศน์
ความสำคัญของภาพ กับการผลิตรายการโทรทัศน์
หลักศิลปะเพื่อการออกแบบสวน
การนำเสนอแฟ้มผลงานรับฟังความคิดเห็น (ประชาพิจารณ์)
ฟิสิกส์ เรื่อง แสง จัดทำโดย นาย ปณิธาน กาญจนถวัลย์ ม.4/3 เลขที่ 12
ประกาศคณะกรรมการควบคุมมลพิษ เรื่องแบบบันทึกผลการตรวจวัดค่าทึบแสงและแบบสรุปผลการตรวจวัดค่าทึบแสงของเขม่าควันจากปล่องปล่อยทิ้งอากาศเสียของเตาเผามูลฝอยรวมทั้งลักษณะและหน่วยวัดค่าความทึบแสงของแผนภูมิเขม่าควันของริงเกิลมานน์
ศัพท์ทางเทคนิคกับการถ่ายทำและควบคุมกล้อง
หลักการออกแบบ ครูอนุชา สุระถา MR.ANUCHA SURATHA ครูนฤศรณ์ วิมลประสาร MR.NARUSORN WIMONPRASARN.
การจัดองค์ประกอบภาพ.
Principle of Graphic Design
Mind Mapping.
เครื่องถ่ายเอกสาร.
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
ระบบสี และ การแสดงผลภาพ
การเตรียมตัวถ่ายภาพ Outdoor Photography
อาจารย์สถิตย์ กังวานณรงค์กุล มัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนมัธยมวัดนายโรง
การจัดองค์ประกอบของภาพ
ให้นักเรียนออกแบบงานนำเสนอ เรื่อง กล้องดิจิตอล D-SLR
แต่งภาพให้สวยด้วยจุดตัด 9 ช่อง
ครู สุนิสา เมืองมาน้อย
เทคนิคการถ่ายรูปภาพ & วีดีโอ  ภาพที่ออกมาจะไม่มีสั่นไหว  ใช้ขาตั้งกล้อง  สถานที่หรือสิ่งของที่สามารถวางกล้องได้  ถือกล้องด้วย 2 มือให้ข้อศอกอยู่ในระดับหน้าอก.
กิจกรรม 4.7 สีของรุ้งเกิดขึ้นได้อย่างไร
กล้องโทรทรรศน์.
การสะท้อนแสงบนกระจกเงา
เทคนิคการถ่ายภาพ.
การนำเสนอโครงงานวิทยาศาสตร์ ให้น่าสนใจได้อย่างไร
บทที่8 การเขียน Storyboard.
การถ่ายภาพ 1 หลักการทางฟิสิกส์เกี่ยวกับระบบแสงของกล้องถ่ายรูปในกรณีทั่วไป น้ำยาเคมีบนฟิล์มและระบบความไวของฟิล์ม กล้องถ่ายรูป เอ็กซ์โพสเซอร์
โดยครูศกุนต์ ก้อนแก้ว
แบบทดสอบชุดที่ 2 คำชี้แจง จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียวทำลงในกระดาษคำตอบที่กำหนดให้
องค์ประกอบศิลป์ : รูปร่าง และรูปทรง
นางสาวจุไรรัตน์ เพิ่มสุข
องค์ประกอบศิลป์สำหรับการถ่ายภาพ
"" การพิจารณาองค์ประกอบในการถ่ายรูป "" หลักพื้นฐานในการพิจารณาองค์ประกอบในการออกแบบก่อน องค์ประกอบในการออกแบบ.
เทคนิคการถ่ายภาพทิวทัศน์-บุคคล ในเวลากลางวันและกลางคืน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ความรู้ทั่วไปของการการจัดสวน
เทคนิคการปรับกล้อง.
สารสนเทศ ข้อมูลและสารสนเทศ
ภาพจากการสะท้อนแสงของวัตถุ
องค์ประกอบศิลป์ : รูปร่าง และรูปทรง
โลกเสมือนจริง วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิต
เทคนิควิธีในการจัดการเรียนการสอน
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ประวัติการถ่ายภาพ(1) วิชาการถ่ายภาพ ได้มีการพัฒนาต่อเนื่องกันมาหลายร้อยปีตามลำดับ ก่อนจะมีกล้องถ่ายภาพ จนในศตวรรษที่ 19 มนุษย์ก็ประสบความสำเร็จในการคิดค้นกระบวนการสร้างภาพ จากผลการทดลองของนักวิทยาศาสตร์ที่ได้พัฒนาความรู้จากศาสตร์ 2 สาขา คือ สาขาฟิสิกส์ ได้แก่ เรื่องของแสงและกล้องถ่ายภาพ และสาขาเคมี ในส่วนที่เกี่ยวกับฟิล์มสารไวแสงและน้ำยาสร้างภาพ

ประวัติการถ่ายภาพ(2) การถ่ายภาพเป็นการรวมหลักการที่สำคัญ 2 ประการเข้าด้วยกันคือ การทำให้เกิดภาพจำลองของวัตถุสิ่งใดสิ่งหนึ่งให้ปรากฎบนฉากรองรับได้และการใช้สื่อกลาง ในการบันทึกภาพจำลองของวัตถุนั้น ให้ปรากฎอยู่ได้อย่างคงทนถาวร [Michael Busselle, The Encyclopedia of Photography,p10]

ประวัติการถ่ายภาพ(3) ในปี ค.ศ. 1925 บริษัท อี.ไลซ์ (E.Leiz) แห่งประเทศเยอรมัน ได้ผลิตกล้อง ไลก้า 1 (Leica 1) ซึ่งเป็นกล้องที่ใช้กับฟิล์มขนาด 35 มม. ที่สมบูรณ์เป็นตัวแรก

ความรู้ แฟลช และเทคนิคการถ่ายภาพด้วยแสงแฟลช ช่องว่างกับมุมกล้อง กฎสามส่วน (Rule of Third) ขนาดของหน่วยความจำและขนาดของภาพเมื่อนำไปอัด

ความรู้ - แฟลช และเทคนิคการถ่ายภาพด้วยแสงแฟลช การใช้แฟลชช่วยในการถ่ายภาพได้ดังนี้ ช่วยให้สามารถถ่ายภาพในที่มืด หรือแสงสว่างไม่เพียงพอ แต่ต้องทำใจกับแสงสีที่ไม่เป็นธรรมชาติ เมื่อถ่ายภาพกลางแจ้งซึ่งแสงอาทิตย์ส่องมาด้านหลัง ทำให้วัตถุเกิดเงาดำ หรือการถ่ายย้อนแสง เราสามารถเปิดแฟลช ทำให้ได้รายละเอียดสวยงาม ช่วยให้ได้ภาพคมชัด ไม่พร่ามัว

ความรู้ - แฟลช และเทคนิคการถ่ายภาพด้วยแสงแฟลช การถ่ายภาพด้วยแสงสะท้อนจากแฟลช (Bounce Flash) ด้วยการปล่อยแสงแฟลชให้ตกกระทบกับวัตถุ แล้วจึงสะท้อนกลับมาที่ตัวแบบ อาจใช้ร่มสะท้อนแสง ฝาผนัง หรือเพดานเตี้ยๆ

ความรู้ - ช่องว่างกับมุมกล้อง ตัวอย่าง การเว้นช่องว่างเพื่อให้เกิดความรู้สึกเคลื่อนไหวไปข้างหน้า

ความรู้ - มุมกล้องกับช่องว่าง มุมกล้อง การถ่ายภาพในมุมที่ต่างกัน มีผลต่อความคิดความรู้สึก แบ่งมุมกล้องได้เป็น 3 ระดับ ภาพระดับสายตา ภาพที่ได้จะให้ความรู้สึกเป็นปรกติธรรมดา ภาพตัวอย่าง การถ่ายภาพในมุมมองปรกติ

ความรู้ - มุมกล้องกับช่องว่าง มุมกล้อง การถ่ายภาพในมุมที่ต่างกัน มีผลต่อความคิดความรู้สึก แบ่งมุมกล้องได้เป็น 3 ระดับ ภาพมุมต่ำ ภาพที่ได้จะให้ความรู้สึกถึงความสูงใหญ่ ยิ่งใหญ่กว่าความเป็นจริง แสดงถึงความสง่า ภาพตัวอย่าง การถ่ายภาพในมุมต่ำ

ความรู้ - มุมกล้องกับช่องว่าง มุมกล้อง การถ่ายภาพในมุมที่ต่างกัน มีผลต่อความคิดความรู้สึก แบ่งมุมกล้องได้เป็น 3 ระดับ ภาพมุมสูง ภาพที่ได้จะให้ความรู้สึกถึงความเล็กความต้อยต่ำ ไม่มีความสำคัญ ภาพตัวอย่าง การถ่ายภาพในมุมสูง

ความรู้ – กฎสามส่วน (Rule of Third) กฎสามส่วนกล่าวไว้ว่า ไม่ว่าภาพจะอยู่แนวตั้งหรือแนวนอนก็ตาม หากเราแบ่งภาพนั้นออกเป็นสามส่วน ทั้งตามแนวตั้งและแนวนอน แล้วลากเส้นแบ่งภาพทั้งสามเส้น จะเกิดจุดตัดกันทั้งหมด 4 จุด ซึ่งจุดตัดของเส้นทั้งสี่นี้ เป็นตำแหน่งที่เหมาะสมสำหรับการจัดวางวัตถุที่ต้องการเน้นให้เป็นจุดเด่นหลัก ส่วนรายละเอียดอื่นๆนั้น เป็นส่วนสำคัญที่รองลงมา

ความรู้ – กฎสามส่วน (Rule of Third)

ความรู้ – กฎสามส่วน (Rule of Third)

ความรู้ – กฎสามส่วน (Rule of Third) นอกจากนี้ยังสามารถใช้แนวเส้นแบ่ง 3 เส้นนี้ เป็นแนวในการจัดสัดส่วนของภาพได้ อย่างเช่นการจัดวางเส้นขอบฟ้าให้อยู่ในแนวเส้นแบ่ง โดยให้ส่วนพื้นดินและท้องฟ้าอยู่ในอัตราส่วน 3:1 หรือ 1:3 แต่ไม่ควรแบ่ง 1:1

ความรู้ – ขนาดของหน่วยความจำและขนาดของภาพเมื่อนำไปอัด

ตัวอย่างการถ่ายภาพ Portrait/People

ตัวอย่างการถ่ายภาพ Portrait/People

ตัวอย่างการถ่ายภาพ Landscape/Cityscape

ตัวอย่างการถ่ายภาพ Landscape/Cityscape

ตัวอย่างการถ่ายภาพ Macro/Closeup

ตัวอย่างการถ่ายภาพ Animal

ตัวอย่างการถ่ายภาพ Food

ตัวอย่างการถ่ายภาพ Food

ตัวอย่างการถ่ายภาพ Food

ตัวอย่างการถ่ายภาพ Food

หนังสืออ่านเพิ่มเติม หนังสือ เทคนิคการถ่ายภาพฉบับสมบูรณ์ Creative Photography

หนังสืออ่านเพิ่มเติม หนังสือชุด เทคนิคการถ่ายภาพฉบับสมบูรณ์ ผลงานคุณภาพจาก ทีมงาน นิตยสาร SHUTTER PHOTOGRAPHY

อ่านใจ...จากการถ่ายภาพ เอามือกอดอก นั่งไขว่ห้าง ชอบทำหน้าตาทะเล้น เด๋อด๋า วางมือไว้หลังศีรษะ ชอบหันใบหน้าด้านข้างเข้าหากล้อง ยิ้มเห็นฟันนิดหน่อย ถ่ายรูปทีไร ยิ้มกว้างทุกที เอามือจับที่คาง

แหล่งที่มาของข้อมูล :

แหล่งที่มาของข้อมูล :

แหล่งที่มาของข้อมูล :

Thank You Presented by Nitima