ระบบจัดการครุภัณฑ์ สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อจัดทำข้อมูลสินทรัพย์ถาวร (Fix Asset)
Advertisements

เข้าระบบด้วย URL: portal.bopp-obec.info/obec57 คลิก”เข้าสู่ระบบ”
ชื่อโครงการ : การประเมินความต้องการตอบสนองการทำงานของ
การเขียนรายงานการประชุม
ระบบเตือนการนัดหมาย ทางการแพทย์
โครงการเพิ่มช่องทางการรับชำระเงินค่าหอพัก
ระบบคลังสินค้านม Milk Warehouse System ผู้จัดทำ
COE โปรแกรมบริหารจัดการอู่ซ่อมรถยนต์
โรงเรียนผ่องพลอยอนุสรณ์
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดเก็บฐานข้อมูลข้อสอบ
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
Research Problem ปัญหาการวิจัย
นางสาววราภรณ์ สุภเกษมวงศ์
ศูนย์ความเป็นเลิศทางสารสนเทศชีวเวชและสาธารณสุข
   ฮาร์ดแวร์ (Hardware)               ฮาร์ดแวร์เป็นองค์ประกอบสำคัญของระบบสารสนเทศ หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์รอบข้าง รวมทั้งอุปกรณ์สื่อสารสำหรับเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เข้าเป็นเครือข่าย.
ประสบการณ์จากงานบริการสารสนเทศ: ประโยชน์
การบริหารความเสี่ยง และการวางระบบควบคุมภายใน
หอพักนิสิต สำนักบริหารงานกิจการนิสิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
การนำเสนอรายงานความก้าวหน้าการปฏิบัติสหกิจศึกษา นำเสนอโดย นางสาวจิตร์ลัดดา พุ่มคำ นางสาวสุนิสา สรรพศรี กำลังศึกษาอยู่ชั้นปีที่ 4 สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์
ระบบจัดการครุภัณฑ์ สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
การพัฒนาระบบสารสนเทศ และฐานข้อมูลด้านการวิจัย
ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
ระบบธุรกิจการป้องกันอัคคีภัย...!!!
การพัฒนาระบบห้องสมุดอัตโนมัติเพื่อเชื่อมโยง
การประกวดผลงานวิจัยและนวัตกรรม
เกดิษฐ เกิดโภคา สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร
Barcode กับการขจัดปัญหาเรื่องการสำรวจครุภัณฑ์
ระบบฐานข้อมูล ข้อมูลมีความสำคัญมากต่อองค์การ ดังนั้นจะต้องมีการจัดเก็บที่เป็นระบบ สามารถค้นหาได้ง่าย เพื่อที่นำมาใช้ให้ทันเวลา ในการตัดสินใจของผู้บริหาร.
กระบวนการลงทะเบียนควบคุมครุภัณฑ์
กระทำหน้าที่ตามเป้าหมายขององค์กรอย่างสมบูรณ์
NU. Library Online Purchasing System
ระบบจัดเก็บค่าน้ำประปา
การจัดทำระบบข้อมูลสุขภาพพื้นที่ : จังหวัดลำพูน
แบบฝึกหัด DataFlow Diagram
การติดตาม และประเมินโครงการ.
การเริ่มต้นและการวางแผนโครงการ
KM เรื่อง “การบริหารความเสี่ยง” ส่วนบริหารการจัดเก็บภาษี
บทที่ 2 การพัฒนาระบบ (System Development)
บทที่ 3 การวิเคราะห์โครงสร้าง Structure Analysis
ตัวอย่าง การประชุม สภาวิชาการมหาวิทยาลัยนครพนม ครั้งที่ ..../…......
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
ระบบสืบค้นข่าว มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.
การศึกษาเปรียบเทียบระบบการแจ้งซ่อมเครื่องคอมพิวเตอร์ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลาปี 2553 A Comparative.
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
CPE 491 Proposal (สอบเสนอหัวข้อเพื่อทำ Project)
การออกแบบฐานข้อมูลและการบริหารธุรกิจ
กลุ่มที่ 6 การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดที่ดิน
System Development Lift Cycle
สื่อความรู้เบื้องต้นทาง บรรณารักษศาสตร์ ( 4 ). การดำเนินงานภายใน ห้องสมุด ห้องส มุด จะให้บริการได้ดีสมบูรณ์ ต้อง ประกอบด้วย องค์ประกอบต่อไปนี้ วัสดุห้องสมุด.
บทที่ 3 การวิเคราะห์ Analysis.
ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติงาน (Operational Risk)
ปัญหาการวิจัย โดย ดร.วรรณะ บรรจง.
การเลือกและปรับรูปทรงวัตถุ การเลือกและปรับรูปทรงวัตถุ
ระบบช่วยสนับสนุนการตัดสินใจเลือกรถขนส่ง
ระบบจัดเก็บและนำเสนอข้อมูล
1. การศึกษาและการวิเคราะห์ความต้องการของผู้ใช้
กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ในงานศูนย์สนเทศภาคเหนือ
การพัฒนาระบบสารสนเทศงานวิจัย ในคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
การพัฒนาระบบงานโดยเทคนิคเชิงโครงสร้าง
การเขียนแบบเสนอหัวข้อโครงงาน
กระบวนการวิจัย Process of Research
DMC 2/2014. ข้อมูลที่โรงเรียนต้องดำเนินการปรับปรุง ในภาคเรียนที่ 2/ ข้อมูลพื้นฐาน ( กรณีโรงเรียนเปลี่ยน ผู้บริหาร / แก้ไขข้อมูลพื้นฐานอื่นๆ ) 2.
สารานุกรมการศึกษา (The Encyclopedia of Education) ให้ความหมายไว้ว่า คือ “การจัดการสืบค้นอย่างมีระบบเกี่ยวกับการศึกษาและผลผลิตที่ได้รับจากการศึกษา”
การวิเคราะห์และออกแบบระบบ System Analysis and Design
การพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ จังหวัดอุบลราชธานี นางปริญญา ผกานนท์ นักวิชาการสาธารณสุข 8 ว.
งานสำนักงาน หน่วยการเรียนรู้ที่ 3.
หลักการเขียนโครงการ.
ทางการวิจัยและพัฒนาของประเทศไทย
การบันทึกข้อมูลสังกัดตามการ ปฏิบัติงานจริง ธันวาคม 2547 ณ ศูนย์คอมพิวเตอร์
เรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ระบบจัดการครุภัณฑ์ สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ การนำเสนอ ระบบจัดการครุภัณฑ์ สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ

ระบบจัดการครุภัณฑ์ ที่มาของโครงการ โครงการจัดทำระบบจัดการครุภัณฑ์ ของสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ เกิดขึ้นเนื่องจากในปัจจุบันการตรวจสอบครุภัณฑ์ของสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ ยังมีความซับซ้อนและไม่ตรงกับความเป็นจริง เพราะว่าในการย้ายครุภัณฑ์ในแต่ละครั้งของเจ้าหน้าที่ที่สังกัดในแผนกต่าง ๆ นั้น ไม่ได้แจ้งไปยังงานพัสดุเพื่อบันทึกการเปลี่ยนแปลงสถานที่ตั้งใหม่ลงในระบบ ทำให้ข้อมูลที่มีอยู่ในระบบไม่ตรงกับความเป็นจริง หรือเมื่อมีการสูญหายของครุภัณฑ์ จะมีผลกระทบต่อระบบงานที่ยังคงแจ้งว่ามีครุภัณฑ์อยู่ในระบบ ซึ่งจะส่งผลให้ไม่สามารถทำการตรวจสอบข้อมูลที่ชัดเจนได้

วิเคราะห์ความต้องการ ระบบจัดการครุภัณฑ์ วิเคราะห์ความต้องการ 1. ต้องการทราบว่าครุภัณฑ์นั้นได้ตั้งอยู่ที่อาคารอะไร ชั้นอะไร ห้องอะไร 2. แต่ละอาคาร แต่ละชั้น แต่ละห้อง มีครุภัณฑ์อะไรบ้าง 3. ครุภัณฑ์นั้นมีการย้ายไปจากที่ตั้งเดิมหรือไม่ 4. เมื่อมีการจำหน่ายครุภัณฑ์ ข้อมูลจะต้องไม่ซ้ำซ้อนกับความเป็นจริง 5. มีการตรวจสอบความครบสมบูรณ์ของครุภัณฑ์ 6. ระบบต้องสามารถตรวจสอบการสูญหายของครุภัณฑ์ได้

ระบบจัดการครุภัณฑ์ ขอบเขตของระบบ 1. ระบบงานย่อยจัดการเรื่องสมาชิก 2. รายงานการเคลื่อนย้ายครุภัณฑ์ 3. การค้นหา และเพิ่มครุภัณฑ์ 4. การค้นหา และเพิ่มสถานที่ในการจัดเก็บครุภัณฑ์ 5. รายงานสภาพของครุภัณฑ์ 6. รายงานการตรวจสอบครุภัณฑ์ประจำปี 7. ระบบงานย่อยตรวจครุภัณฑ์ประจำปี

ระบบจัดการครุภัณฑ์ แผนการดำเนินการ

ระบบจัดการครุภัณฑ์ เครื่องมือที่ใช้ 1. เขียนระบบด้วยภาษา PHP 2. ใช้โปรแกรม Appserv ในการจัดการระบบ 3. ใช้โปรแกรม phpMyAdmin ในจัดการฐานข้อมูล 4. ใช้โปรแกรม MySQL เป็นฐานข้อมูล

ระบบจัดการครุภัณฑ์ โครงสร้างระบบ

ระบบจัดการครุภัณฑ์ E-R Diagram

ระบบจัดการครุภัณฑ์ Context Diagram

ระบบจัดการครุภัณฑ์ Data Flow Diagram Level 0

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ระบบจัดการครุภัณฑ์ ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. ทราบว่าครุภัณฑ์นั้นได้ตั้งอยู่ที่อาคารอะไร ชั้นอะไร ห้องอะไร 2. ทราบว่าแต่ละอาคาร แต่ละชั้น แต่ละห้อง มีครุภัณฑ์อะไรบ้าง 3. ทราบว่าครุภัณฑ์นั้นมีการย้ายไปจากที่ตั้งเดิมหรือไม่ 4. ข้อมูลไม่ซ้ำซ้อนเมื่อมีการจำหน่ายครุภัณฑ์ 5. มีการตรวจสอบความครบสมบูรณ์ของครุภัณฑ์ 6. สามารถตรวจสอบการสูญหายของครุภัณฑ์ได้

อุปสรรค ปัญหา และแนวทางแก้ไขปัญหา ระบบจัดการครุภัณฑ์ อุปสรรค ปัญหา และแนวทางแก้ไขปัญหา 1. ปัญหา ระบบเก่านั้นยังไม่มีการตรวจข้อมูลมาก่อนว่าครุภัณฑ์นั้นมีอยู่จริงหรือไม่ การแก้ไข จะต้องมีการตรวจสอบข้อมูลของครุภัณฑ์ให้ตรงกับความเป็นจริงก่อน 2. ปัญหา ระยะเวลาในการพัฒนาระบบมีน้อย อาจจะทำให้ระบบงานไม่ครอบคลุม การแก้ไข ต้องมีการนำระบบไปพัฒนาต่อไป 3. ปัญหา ผู้ตรวจสอบต้องเป็นคนรู้ว่ามีครุภัณฑ์อยู่ตรงไหนบ้าง การแก้ไข ควรคัดเลือกผู้ตรวจสอบที่มีหน้าที่อยู่ในแผนกนั้น ๆ

ระบบจัดการครุภัณฑ์ สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ ? ข้อแนะนำ ระบบจัดการครุภัณฑ์ สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ