ขั้นตอนการออกแบบทาง.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
รัตนา ธีระวัฒน์ มยุรฉัตร เบี้ยกลาง วราลักษณ์ ตังคณะกุล
Advertisements

HONDA TRAFFIC EDUCATION CENTER
การจราจร.
ทำเลที่ตั้งสถานศึกษา
ด้านคมนาคม/โครงสร้างพื้นฐาน
ยุทธศาสตร์ชาติ เพื่อการพัฒนาที่อยู่อาศัย
การจัดทำแผนงานซ่อมบำรุงทาง
ระบบสารสนเทศแผนงานบำรุงทาง
แนวทางการเลือกพื้นที่เป้าหมาย
“ความรู้เรื่องกฎจราจร” สถานีตำรวจภูธรอำเภอหาดใหญ่
การบริหารการจัดการพื้นที่จอดรถจราจรในตลาดสามย่าน
สรุปใบงาน วิชา ระบบสารสนเทศทางการบัญชี บช. 342
รายงาน เรื่อง ดินถล่ม เสนอ อาจารย์วรรณา ไชยศรี.
(Global Positioning System)
วิธีการเก็บตัวอย่างดิน
การออกแบบงานชลประทานเบื้องต้น (สำหรับบุคลากรในสายสนับสนุนกรมชลประทาน)
มารู้จักเขื่อนใต้ดินกันเถอะ
ส่วนสำรวจกันเขตและประสานงานรังวัด
หลักเกณฑ์การคำนวณราคากลางงานก่อสร้าง
ผลกระทบของแผ่นดินไหวที่มีต่อเขื่อน ในประเทศญี่ปุ่น
สถานที่ตั้ง : หมู่ที่ 2 ตำบลปากล่อ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี
ผลงานสร้างสรรค์ดีเด่น RID INNOVATION 2011
แผนที่เพื่อการศึกษา ข้อมูลทางภูมิศาสตร์
วิกฤตการณ์เกี่ยวกับการตัดไม้ทำลายป่า และการสูญเสียพื้นที่ป่าไม้
ข้อมูลปัญหาที่นำมาใช้เพื่อการออกแบบสวน
หลักศิลปะเพื่อการออกแบบสวน
ป้ายบังคับ หยุด ให้ทาง ให้รถสวนทางมาก่อน ห้ามแซง ห้ามเข้า ห้ามเข้า
แผนที่ นางสาวพัชรินทร์ รุ่งสว่าง ตำแหน่งครูผู้ช่วย
ระยะเวลาก่อสร้าง : 2 ตุลาคม 2549 – 2 ตุลาคม 2552
การถอดแบบและคำนวณ ปริมาณงานก่อสร้างทางหลวง โดย
อย่างถูกหลักสุขาภิบาล
หลักสูตรการอบรมครูผู้ดูแลเด็ก
นางสาวปุษยาภรณ์ ผลไพบูลย์ นักวิชาการตรวจสอบภายในชำนาญการ ผู้บรรยาย
โครงการก่อสร้าง 1.
1. ภ. จว. นำร่อง คือ ภ. จว. สงขลา 2. ภ. จว. ขยายผล คือ ภ. จว. สตูล, ตรัง, พัทลุง, ปัตตานี, ยะลา และ นราธิวาส.
การประยุกต์ใช้ GIS ของกทม.
การพัฒนาองค์ความรู้ และการบูรณาการพัฒนา ขั้นพื้นฐาน.
นโยบายของท่านเลขาธิการ ส.ป.ก. ด้านการพัฒนาแหล่งน้ำและระบบชลประทาน
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรมเรื่อง มาตรการคุ้มครองความปลอดภัยในการประกอบกิจการโรงงาน ขุด ตัก ลอกหรือดูดทรายหรือดินในที่ดินกรรมสิทธิ์ สำหรับใช้ในการก่อสร้าง.
การสำรวจกันเขต เป็นการสำรวจเพื่อกำหนดตำแหน่งทางราบ เพื่อใช้กำหนดแนวเขตของรายละเอียดงานที่ใช้ประโยชน์ทางด้านการชลประทาน สำหรับใช้ประกอบการจัดซื้อที่ดินของโครงการชลประทาน.
ระบบบริหารจัดการเอกสารและข้อมูลแผนที่ด้วยระบบสารสนเทศ
ที่ดินเพื่อกิจการชลประทาน
3. ข้อมูลแหล่งน้ำที่พัฒนา
โครงการปรับปรุงฟื้นฟูห้วยน้ำลี
มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
การปูผิวแบบเว้นร่องระบายน้ำข้างcurb
วิธีการเก็บข้อมูล เพื่อกรอกลงในแบบฟอร์มการจัดทำบัญชีรายการ
Geographic Information System
ลิฟต์.
โครงการออกแบบวางผังแม่บท มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
สำนักงานจัดรูปที่ดินจังหวัดราชบุรี
อภิชาติ สุวรรณมณี ศูนย์จัดการต้นน้ำที่ 2
โดยเด็กหญิงประกอบ มีมูซอ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6/8
รูปแบบการจัดทำข้อมูล กองทัพบก รูปแบบการจัดทำข้อมูล กรมชลประทาน 1. การชี้แจงกำลังพลก่อน ปฏิบัติงาน 1. การชี้แจงแบ่งงาน / ผู้รับผิดชอบก่อนปฏิบัติงาน 2. การทำความเข้าใจกับ.
ร่างรายงานขั้นสุดท้าย (Draft Final Report)
องค์ประกอบที่ ๑ การจัดทำป้ายชื่อพรรณไม้
ประกาศกรมธุรกิจพลังงาน เรื่อง หลักเกณฑ์การจัดทำเครื่องหมายแสดงในบริเวณเขตระบบการขนส่งน้ำมัน ทางท่อ พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 29 กันยายน 2554.
ส่วนเครื่องจักรกล ผลการปฏิบัติงาน งานซ่อมแซมอาคารระบายน้ำปลายคลองส่งน้ำสายใหญ่ แม่วังฝั่งซ้าย ดำเนินการโดย ฝ่ายปฏิบัติการเครื่องจักรกลงานดิน ช่วงระยะเวลา.
HONDA TRAFFIC EDUCATION CENTER
แผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2550 – 2552) องค์การบริหารส่วนตำบลทางเกวียน
มาตรการป้องกันแก้ไขผลกระทบฯ เบื้องต้น
แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์
ดินถล่ม.
The paris พระรามเก้า - รามคำแหง การเตรียมพร้อมรับมือการเกิดอุทกภัย ปี 2555.
รายงานผลการปฏิบัติงานโครงการอาสาสมัครทางหลวงชนบท
ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS)
รายงานสรุปการปฏิบัติงาน
แผนการดำเนินงาน การบำรุงรักษาระบบโครงข่ายทางหลวงชนบท งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2559 สำนักบำรุงทาง กรมทางหลวงชนบท.
สรุปผลการดำเนินงานกลุ่มที่ 3 ภาคกลาง
กระบวนการจัดการมูลฝอย การฝังกลบอย่างถูกหลักสุขาภิบาล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ขั้นตอนการออกแบบทาง

งานสำรวจ เขียนแบบ ตรวจสอบมาตรฐาน ข้อมูลจากการสำรวจในสนามต่างๆ และจากแผนที่ เขียนแบบแนวทางและระดับตามแนวสำรวจ , เขียนรูปตัดระดับดิน , เขียนรูปตัดตรงที่มีอาคารระบายน้ำเดิม , เขียนแผนผังช่องน้ำ , เขียนแผนที่ย่อแนวทาง ฯลฯ พิจารณาแนวทางโดยทั่วไป , ตรวจสอบลักษณะของโครงการฯ , มาตรฐานชั้นทางและข้อมูลประกอบการออกแบบทางต่างๆ

งานออกแบบ 1. ออกแบบทางเรขาคณิต 2. การออกแบบโครงสร้างทาง 3. การออกแบบอาคารระบายน้ำ 4. คำนวณปริมาณงานต่างๆ 5. ออกแบบเบ็ดเตล็ดอื่นที่จำเป็น

1. ออกแบบทางเรขาคณิต 1.1) ออกแบบรูปตัด 1.1.1 รูปตัดทั่วไปของสายทางนั้น 1.1) ออกแบบรูปตัด 1.1.1 รูปตัดทั่วไปของสายทางนั้น 1.1.2 รูปตัดเฉพาะย่านชุมนุมชน 1.1.3 รูปตัดเฉพาะส่วนถมสูงหรือตัดลึก

1. ออกแบบทางเรขาคณิต 1.2) ออกแบบแนวทางราบ 1.2) ออกแบบแนวทางราบ 1.2.1 ตรวจสอบข้อมูลต่างๆ ของโค้งราบ และ STATION ของจุด PC. , PI. , PT. 1.2.2 ออกแบบความเร็วการยกโค้งและ การขยายผิวจราจรในทางโค้ง 1.2.3 พิจารณาแก้ไขแนวทาง จุดที่ ไม่เหมาะสมต่างๆ เช่น แก้โค้ง และแก้แนว 1.2.4 กำหนดเขตทางตามมาตรฐาน ชั้นทางและเฉพาะช่วงตามความจำเป็น

1. ออกแบบทางเรขาคณิต 1.3) ออกแบบแนวทางตั้ง 1.3.1 ขีด GRADE LINE และคำนวณ ค่าระดับก่อสร้าง 1.3.2 ออกแบบโค้งตั้ง (VERTICAL CURVE) และค่าระดับ

1. ออกแบบทางเรขาคณิต 1.4) ออกแบบทางแยก 1.4.1 ออกแบบรัศมีเลี้ยว 1.4) ออกแบบทางแยก 1.4.1 ออกแบบรัศมีเลี้ยว 1.4.2 ออกแบบการจัดช่องจราจร (CHANNELIZATION) ถ้าจำเป็น 1.4.3 ออกแบบระยะ SIGHT LINE บริเวณทางแยก 1.4.4 ออกแบบป้ายจราจร ไฟฟ้า แสงสว่างและไฟสัญญาณ (ถ้าจำเป็น)

2. การออกแบบโครงสร้างทางและวัสดุก่อสร้างทาง 2.1) ออกแบบชั้นทางต่างๆ โดยใช้ค่า SUBGRADE C.B.R. ปริมาณการจราจร , ปริมาณรถบรรทุก หนักรวมกับรถยนต์โดยสารขนาดใหญ่ และอัตราเพิ่มของการจราจร ตามที่สำรวจ 2.2) ออกแบบรูปตัดโครงสร้างทาง TYPICAL CROSS SECTION แสดงสัดส่วนและ ชั้นทางต่างๆ และส่วนที่สัมพันธ์กับถนนเดิม

2. การออกแบบโครงสร้างทางและวัสดุก่อสร้างทาง 2.3) กำหนดรายการรายละเอียดของวัสดุที่ใช้ ก่อสร้างและข้อกำหนดพิเศษต่างๆ 2.4) สำรวจและเขียนแผนที่แหล่งวัสดุ แสดงแหล่งวัสดุและระยะทาง จากสายทาง คุณสมบัติต่างๆ และปริมาณวัสดุ

3. การออกแบบอาคารระบายน้ำและระบบระบายน้ำประกอบต่างๆ 3.1) คำนวณปริมาณน้ำในแต่ละช่วง จาก BASE MAP และคำนวณพื้นที่ ช่องเปิดที่ต้องการ โดยพิจารณา ประกอบจากขนาดช่องน้ำ 3.2) ออกแบบประเภทของอาคารระบายน้ำ แต่ละจุด ทั้งที่ก่อสร้างใหม่และต่อเติม ของเดิม - ท่อกลม - ท่อเหลี่ยม - สะพาน

3. การออกแบบอาคารระบายน้ำและระบบระบายน้ำประกอบต่างๆ 3.3) ออกแบบขนาดของอาคาร ระบายน้ำแต่ละจุดตามข้อมูลของแผนผัง ช่องน้ำและตรวจสอบพื้นที่หน้าตัดของ อาคารระบายน้ำให้ได้ตามพื้นที่ที่ คำนวณในข้อ 3.1 3.4) ออกแบบระบบระบายน้ำต่างๆ ตามสภาพความจำเป็นในแต่ละลักษณะ ภูมิประเทศ เช่น งานป้องกัน การกัดเซาะต่างๆ งานแก้ไขน้ำใต้ดิน งานระบายน้ำในย่านชุมนุมชน หรืองานร่องระบายน้ำข้างทาง ฯลฯ

4. คำนวณปริมาณงานต่างๆ งานถางป่าและขุดตอ งานดินตัดและดินถม งานถางป่าและขุดตอ งานดินตัดและดินถม งานชั้นโครงสร้างทาง งานอาคารระบายน้ำ งานหลักกันโค้ง งานป้ายจราจร งานปลูกหญ้า งานสี ตีเส้น งาน DITCH LINING และงานประกอบเบ็ดเตล็ดต่างๆ

5. ออกแบบเบ็ดเตล็ดอื่นที่จำเป็น เขียนแบบคัดลอกลงหมึก เตรียมแบบ (หรือระบุชื่อแบบ) แบบมาตรฐาน ที่ต้องใช้ในสายทาง

รวมแบบและตรวจสอบ ขออนุมัติ รวมแบบและตรวจสอบ ขออนุมัติ