คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (Computer-Assisted Instruction) การใช้คุณลักษณะของคอมพิวเตอร์ในการนำเสนอสื่อประสม (Multimedia) ได้แก่ ตัวอักษร ภาพนิ่ง วีดีทัศน์ เสียง เพื่อถ่ายทอดเนื้อหาบทเรียนหรือองค์ความรู้ในลักษณะที่ใกล้เคียงกับการสอนจริงในห้องเรียน
พัฒนาการของ CAI Programmed Instruction (PI) B.F. Skinner , Behaviorism, Reinforcement Standford University ทักษะคณิต และ ภาษา สำหรับชั้นประถม
พัฒนาการของ CAI University of Illinois at Urbana Champaign โครงการ Plato ใชักับผู้เรียนถึงขั้นอุดมศึกษา (CMI-- Computer-Management Instruction)
พัฒนาการของ CAI คอมพิวเตอร์ออกแบบเพื่อโปรแกรม Plato ใช้ ภาษา Tutor ไมโครคอมพิวเตอร์ ใช้ Authoring Language (Tutor, Pilot) Papert--MIT--Logo สำหรับวิชาคณิตศาสตร์ CAI on Web Intelligent Tutoring System (ITS)
คุณลักษณะ (4I’s) 1. มีเนื้อหาสาระที่เรียบเรียงแล้วเป็นอย่างดี (Information) 2. สนับสนุนความแตกต่างระหว่างบุคคล (Individualization) ผู้เรียนควบคุมเนื้อหา (navigate) ผู้เรียนคุมลำดับการเรียน (Hypermedia) ควบคุมการฝึกปฏิบัติ หรือทดสอบ
คุณลักษณะ 3. มีการโต้ตอบ (Interactive) ปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนกับคอมฯ 4. ให้ผลป้อนกลับโดยทันที (Immediate Reinforcement)
ประโยชน์ ช่วยให้ผู้เรียนฝึกทักษะและเพิ่มความรู้ ผู้เรียนใช้เวลาตามความสดวกของตนเอง ผู้เรียนเกิดความกระตือรือร้น
ประเภทของ CAI 1. ติวเตอร์ (Tutor) 2.แบบฝึกหัด (Drill & Practice) 3.สถานการณ์จำลอง (Simulation) --problem solving 4.Game 5.แบบทดสอบ (Testing)
โปรแกรมประเภทติวเตอร์ เป็นคอมฯช่วยสอนซึ่งได้รับการออกแบบโดยมีเป้าหมายเพื่อนำเสนอถ่ายทอดเหมือนติวเตอร์คนหนึ่ง
โครงสร้างโปรแกรมประเภทติวเตอร์ มีการนำเข้าสู่บทเรียน นำเสนอบทเรียน ทดสอบ ผลป้อนกลับ จบออกจากโปรแกรม
โปรแกรมประเภทแบบฝึกหัด (Drill & Practice) เป็นการนำคอมฯช่วยในการนำคำถามโดยวิธีการและรูปแบบต่างๆ ให้ผู้เรียนฝึกฝน และปฏิบัติจนเข้าใจ
โครงสร้างโปรแกรมประเภทแบบฝึกหัด นำเข้าสู่บทเรียน เลือกคำถาม นำเสนอข้อคำถาม (Flash Card, VIP) ให้ผลป้อนกลับ (หรือเสนอคำถามอีก) จบออกจากบทเรียน
โปรแกรมประเภทจำลองสถานการณ์ (Simulation) เป็นการนำเสนอบทเรียนในรูปของการจำลองสถานการณ์ให้ผู้เรียนสัมผัสเหตุการณ์ลักษณะใกล้เคียงประสบการณ์จริง เพื่อผู้เรียนได้เรียนรู้ที่จะควบคุมสถานการณ์นั้น
โปรแกรมประเภทจำลองสถานการณ์ (Simulation) About Simulation อธิบายความหมาย Physical simulation Process simulation How to Simulation จำลองวิธีการ Procedural simulation Situational simulation
โครงสร้างโปรแกรมประเภทจำลองสถานการณ์ นำเข้าสู่บทเรียน นำเสนอสถานการณ์ ตัดสินใจ ผลป้อนกลับจากการตัดสินใจ (หรือเสนอสถานการณ์อีก) จบออกจากบทเรียน
ข้อได้เปรียบของ โปรแกรมประเภทจำลองสถานการณ์ ลดความเสี่ยงอันตราย ประหยัดค่าใช้จ่าย ลดข้อจำกัดเรื่องเวลา
โปรแกรมประเภทแบบทดสอบ (Testing) ไม่มีการนำเสนอบทเรียนแต่เป็นโปรแกรมเพื่อการทดสอบ เก็บคะแนน และประเมินผลโดยตรง
โครงสร้างโปรแกรมประเภทแบบทดสอบ นำเข้าสู่บทเรียน บอกวัตถุประสงค์ เร้าความสนใจ เงื่อนไข กำหนดเวลาทำข้อสอบ
โครงสร้างโปรแกรมประเภทแบบทดสอบ เลือกคำถาม เรียงลำดับตายตัว สุ่มตัวอย่าง คิวอย่างมีแบบแผน
โครงสร้างโปรแกรมประเภทแบบทดสอบ เสนอคำถาม ป้อนกลับ หรือ วนกลับ จบบทเรียน ให้ผลสรุปคะแนน
ข้อได้เปรียบและข้อจำกัดของ โปรแกรมประเภทแบบทดสอบ ทดสอบแม่นยำ รวดเร็ว ทราบผลทันที ลดความเครียดจากการสอบโดยตรง ข้อจำกัด ข้อจำกัดเรื่องข้อสอบอัตนัย ควบคุมการสอบได้ยาก
โปรแกรมประเภทเกมส์ เป็นรูปแบบคอมฯช่วยสอนที่สร้างบรรยากาศการเรียนรู้ที่ท้าทาย สนุกสนาน และเพลิดเพลิน แก่ผู้เรียน
โครงสร้างโปรแกรมประเภทเกมส์ นำสู่บทเรียน นำเสนอเกม ตัดสินใจของผู้เล่น หรือฝ่ายตรงข้าม ผลป้อนกลับจากการตัดสินใจ (นำเสนอเกมส์) สรุปและจบบทเรียน
โครงสร้างโปรแกรมประเภทเกมส์ คุณสมบัติ กติกา การแข่งขัน ท้าทาย จินตนาการ ความปลอดภัย สนุกสนาน ได้ควบคุม สนองความอยากรู้อยากเห็น
โครงสร้างโปรแกรมประเภทเกมส์ คุณสมบัติที่แตกต่าง สร้างความประหลาดใจแก่ผู้เรียน ไม่มีบทสรุปทวนเนื้อหา ผลป้อนกลับควรอธิบายผู้เรียน