แนวทางการประเมินผล การปฏิบัติงานของบุคลากรทุกระดับ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แนวปฏิบัติที่ดี เรื่อง “ทบทวนการสรรหาบุคลากร ให้มีประสิทธิภาพ”
Advertisements

สมเกียรติ คูหเวโรจนปกรณ์
การกำหนดหลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุน ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
การกำหนดโครงสร้าง ตาม ว 108 (ว 1)
หลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติการยืมเงินทดรองจ่ายเงินรายได้
งานบริหารงานบุคคล กองการเจ้าหน้าที่ สำนักงานอธิการบดี หน้า ๑
ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
แนวทางการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตาม พ. ร. บ
หลักการสำคัญ ในการปรับปรุงกฎหมาย ว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน
ปทิตตา มีชิตสม นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ
ข้อเสนอการปฏิบัติราชการ สำนักวิเคราะห์ วิจัยและพัฒนา ประจำปีงบประมาณ พ
เอกสารประกอบการบรรยาย เรื่อง การประเมินบุคคล
รหัสวิชา กระบวนทัศน์ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และชุมชนในองค์กร
ระยะเวลาการประเมิน ตั้งแต่วันที่ ๑ ตุลาคม พ. ศ. ๒๕๕๓ ถึงวันที่ ๓๐ กันยายน พ. ศ. ๒๕๕๔.
การเตรียมความพร้อมของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในการปรับเปลี่ยนข้าราชการ
บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ
หลักเกณฑ์และแนวทางการประเมินผลการปฏิบัติราชการเพื่อเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ ในสังกัดสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลา หลักเกณฑ์การประเมินและวิธีการประเมินผลการปฏิบัติ
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนากำลังคน (CHRO)
หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผล การปฏิบัติราชการข้าราชการและ พนักงานราชการกรมควบคุมโรคประจำปีงบประมาณ 2557.
แนวทางการปฏิบัติงานด้านประกันคุณภาพการศึกษา
แนวทางการรับรอง มาตรฐาน การประเมินภายนอก ระดับอุดมศึกษา อนุมงคล ศิริเวทิน อนุมงคล ศิริเวทิน.
การเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและร่วมติดตาม ตรวจสอบผลการปฏิบัติราชการ วันที่ 29 มกราคม 2551.
กระบวนการบริหารผลการปฏิบัติงาน
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
เลื่อนขั้นค่าตอบแทน และค่าตอบแทนพิเศษ พนักงานราชการ.
ชี้แจงการประเมินผลการปฏิบัติงาน
การจัดทำแผนการประกันคุณภาพการศึกษา
แบบประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลการปฏิบัติงานของบุคลากรสภากาชาดไทย
การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการ
มาตรฐานวิชาชีพครู.
การคัดเลือกเพื่อเปลี่ยนสายงาน
ระบบบริหารผลการปฏิบัติงาน Performance Management System: PMS และ หลักการจัดทำแผนพัฒนารายบุคคล Individual Development Plan : IDP.
ความก้าวหน้าการจัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณพ.ศ. ๒๕๕๕
การเสนอกระบวนงานบริการเพื่อขอรับการประเมิน
1. การดำเนินงานในรูปแบบคณะกรรมการ/คณะทำงาน
ผศ.ดร.กัลยาณี คูณมี ทีมที่ปรึกษาสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
การประชุมชี้แจงสาระสำคัญของประกาศ คพร.
การปรับปรุงอัตรากรมแพทย์ทหารเรือ
ให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ผู้อำนวยการชำนาญการพิเศษ
หลักเกณฑ์และแนวทางการประเมินผลการปฏิบัติราชการ เพื่อเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ ในสังกัดสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลา หลักเกณฑ์การประเมินและวิธีการประเมินผลการ.
การพิจารณาเลื่อนขั้นเงินเดือน/ ค่าจ้างประจำ
การเขียนรายงานผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
ขั้นตอนในการประเมิน ขีดความสามารถ/ขีดสมรรถนะ ของข้าราชการ ทร.
การประเมินผลการปฏิบัติราชการตามหลักเกณฑ์ และวิธีการที่ ก. พ
Assignment : หลักการการวิจัยการจัดการความรู้ ชื่อหัวข้อวิจัย
งานประเมินผลการปฏิบัติงาน พนักงานมหาวิทยาลัย ประจำปี
ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น(ฉบับที่ 1325/2552)
ว 5/2554.
พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหาร
ขั้นตอนการประเมินลูกจ้างชั่วคราวเงินบำรุง
วันศุกร์ที่ ๕ พฤศจิกายน ๒๕๕๓
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
เอกสารประกอบการประชุมคณะทำงานเพื่อจัดทำ ตัวชี้วัดและระบบการบริหาร ผลการ ปฏิบัติราชการ ของสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อ เกษตรกรรม สำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม.
สำนักงาน ก.พ. ที่ นร ๑๐๑๒/ว ๒๐ ถนนพิษณุโลก กทม. ๑๐๓๐๐ ๓ กันยายน ๒๕๕๒
หน่วยที่ ๙ การเขียนโครงการ
Worksheets for Workshop แบบฝึกปฏิบัติการ หลักสูตรการบริหารจัดการ การจัดการเรียนรู้ และการถ่ายทอดความรู้ของวิทยากร สถาบันการเรียนรู้กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง.
กลุ่มงานยุทธศาสตร์การ พัฒนาชุมชน สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด พิษณุโลก
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
ใช้สำหรับการปฏิบัติงานตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 2553 เป็นต้นไป
การสัมมนา ข้อ ๔ เรื่อง อัตราค่าเช่าและค่าเช่าซื้อ
ผู้รับผิดชอบ : สำนักงาน ก.ก.
Workshop วิชาการถ่ายทอดความรู้วิทยากร ตาม worksheet 1-5.
หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
รางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ (Thailand Public Service Awards)
การเขียนโครงการ.
สรุปสาระสำคัญของหลักเกณฑ์และ วิธีการประเมินเพื่อเปลี่ยนสถานภาพ เป็นพนักงานมหาวิทยาลัย (ตามประกาศมหาวิทยาลัยเชียงใหม่เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินเพื่อ.
สรุปสาระสำคัญของการจ้างคณาจารย์ ประจำที่อายุครบ 60 ปีบริบูรณ์ (ตามประกาศมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจ้างคณาจารย์ประจำที่มีอายุครบ.
การปรับเปลี่ยนลูกจ้าง ชั่วคราวเข้าสู่การเป็น พนักงานกระทรวง สาธารณสุข
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวทางการประเมินผล การปฏิบัติงานของบุคลากรทุกระดับ หัวข้อที่น่าอภิปราย แนวคิดของระบบเป็นอย่างไร องค์ประกอบการประเมินผลเป็นอย่างไร ผู้ใดเป็นผู้ประเมิน ผลการประเมินใช้หลักใด

ระบบการบริหารผลการปฏิบัติราชการ – กพ. ระบบการบริหาร ผลการปฏิบัติราชการ ติดตาม (Monitor) วางแผน (Plan) พัฒนา (Develop) ประเมิน (Appraise) ให้รางวัล (Reward) อิงแผนงานและผลงาน

องค์ประกอบการประเมินผล – กพ.

องค์ประกอบการประเมิน – จุฬาฯ พนง.ม. ปริมาณงาน คุณภาพงาน คุณลักษณะส่วนบุคคล ผลสัมฤทธิ์ของงาน พฤติกรรม

องค์ประกอบการประเมิน พนักงานมหาวิทยาลัยสายวิชาการ การเรียนการสอน ๔๐ คะแนน (%) งานพัฒนานิสิต ๑๐ คะแนน งานวิจัย ๑๐ คะแนน งานบริหาร/งานบริการวิชาการ ๑๐ คะแนน ความสามารถในการทำงาน ๑๕ คะแนน พฤติกรรมในการทำงาน ๑๕ คะแนน รวม ๑๐๐ คะแนน

การประเมินอาจารย์ตามภาระงาน อยู่ในระบบการประเมินด้วยไหม ? ใช้ประโยชน์ในระบบการประเมิน บุคลากรสายวิชาการอย่างไร น่าจะ = ปริมาณ

องค์ประกอบการประเมิน พนักงานมหาวิทยาลัย ระดับจัดการ ระดับปฏิบัติการ และระดับแรงงาน ผลงาน ๔๐ % เกณฑ์ผ่าน ๒๔ % ความรู้ความสามารถ ในการปฏิบัติงาน ๓๐ % เกณฑ์ผ่าน ๑๘ % พฤติกรรม ๓๐ % เกณฑ์ผ่าน ๑๘ % รวม ๑๐๐ % เกณฑ์ผ่าน ๓๓.๕ %

ใครเก็บข้อมูล เก็บอย่างไร หน่วยงาน/ ตำแหน่งงาน ผู้รับบริการ ก ผู้รับบริการ ค ผู้รับบริการ ง ผู้รับบริการ ข ผลผลิต บริการ ผลผลิต บริการ ใครคือผู้รับบริการ? ผู้รับบริการต้องการ/คาดหวังอะไร? จะตั้งเป้าหมายในการให้บริการอย่างไร? จัดทำข้อตกลงการให้บริการ (Service Level Agreement) ประเมินผลตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ คุณภาพ ? ใครเก็บข้อมูล เก็บอย่างไร

ใครประเมิน ? น้ำหนักผู้ประเมิน ใครพิจารณาสรุป หัวหน้า ส่วนราชการ รองหัวหน้า ส่วนราชการ ผู้อำนวยการ สำนัก/กอง/ศูนย์ หัวหน้าหน่วยงานภายใต้ สำนัก/กอง ผู้ปฏิบัติราชการที่ไม่มีผู้ใต้บังคับบัญชา

สรุปขั้นตอนการประเมินผลการปฏิบัติงาน-จุฬาฯ ส่วนงานจัดทำเป้าหมาย วัตถุประสงค์ และเกณฑ์การประเมิน ผู้บังคับบัญชาชั้นต้น แจ้งให้พนักงานมหาวิทยาลัยทราบ ล่วงหน้าถึงเป้าหมาย วัตถุประสงค์ หลักเกณฑ์และวิธีการ ประเมิน สัดส่วนน้ำหนักคะแนน คณะกรรมการ (แต่งตั้งโดยคณะกรรมการบริหารส่วนงาน ประกอบด้วยประธานและกรรมการ จำนวน ๒ ถึง ๔ คน โดยเป็นบุคคลภายนอกส่วนงานนั้น อย่างน้อย ๑ คน) รับผิดชอบการประเมิน

คณะกรรมการบริหารส่วนงานพิจารณาอนุมัติ แจ้งคณะกรรมการบริหารเพื่อทราบ ผู้บังคับบัญชาชั้นต้นแจ้งผลการประเมิน ข้อดีและข้อควรปรับปรุงแก่ผู้รับการประเมิน ตกลงกันเกี่ยวกับวิธีการและระยะเวลาในการปรับปรุงการปฏิบัติงาน

ผลการประเมิน – กพ. ระดับผลฯ คะแนนในแต่ละระดับ หมายเหตุ ดีเด่น ส่วนราชการสามารถกำหนดช่วงคะแนนของแต่ละระดับได้ตามความเหมาะสม ต้องประกาศให้ทราบทั่วกัน ดีมาก ดี - พอใช้ ไม่ต่ำกว่าร้อยละ ๖๐ ต้องปรับปรุง ต่ำกว่าร้อยละ ๖๐

ผลการประเมิน ดีเยี่ยม (คะแนนร้อยละ ๘๗.๖-๑๐๐.๐) ปรับไม่เกินร้อยละ ๙ ดีเยี่ยม (คะแนนร้อยละ ๘๗.๖-๑๐๐.๐) ปรับไม่เกินร้อยละ ๙ ดีมาก (คะแนนร้อยละ ๗๔.๑๐-๘๗.๕) ปรับไม่เกินร้อยละ ๗ ดี (คะแนนร้อยละ ๖๐.๖-๗๔.๐) ปรับไม่เกินร้อยละ ๕ ปานกลาง (คะแนนร้อยละ ๔๗.๑๐-๖๐.๕) ปรับไม่เกินร้อยละ ๓ ต้องปรับปรุง (คะแนนร้อยละ ๓๓.๖-๔๗.๐) ไม่ปรับอัตราเงินเดือน ต่ำ (คะแนนต่ำกว่าร้อยละ ๓๓.๕๐) อาจพิจารณาไม่ต่อสัญญาจ้าง

ปัญหาที่พบ : การออกแบบระบบ คำนึงถึงผลงาน อิง KPI ของหน่วยงานด้วย จริงไหม - องค์ประกอบของการประเมินของแต่ละสายงานบางสายงาน ยังไม่เหมาะสม - ผู้ประเมินแต่ละกลุ่มให้คะแนนโดยมาตรฐานต่างกัน ถ้าจะนำมาเปรียบเทียบกัน ต้อง calibrate - การพิจารณาสรุป ต้องอยู่ในรูปคณะกรรมการ - ต้องแสดงผลการประเมินอย่างเปิดเผย และ รับฟังความคิดเห็น

การปฏิบัติงานของบุคลากรทุกระดับ แนวทางการประเมินผล การปฏิบัติงานของบุคลากรทุกระดับ หัวข้อที่น่าอภิปราย แนวคิดของระบบเป็นอย่างไร องค์ประกอบการประเมินผลเป็นอย่างไร ผู้ใดเป็นผู้ประเมิน ผลการประเมินใช้หลักใด

- Alternatives ??? - ประโยชน์ / การนำผลการประเมินไปใช้ เพื่อพิจารณาเลื่อนขั้นเงินเดือน เพื่อพัฒนาบุคคลระยะยาว ???