การประเมินความเสี่ยง เพื่อวางแผนการตรวจสอบ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แนวทางการจัดทำรายงานประเมินผลการควบคุมภายใน
Advertisements

ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
ระบบประกันคุณภาพคณะวิทยาศาสตร์
การฝึกอบรมหลักสูตร การบริหารจัดการโครงการ และการติดตามประเมินผล
การจัดทำรายงานการควบคุมภายใน ตามระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน
หลักพื้นฐานในการวางแผนโดยงบประมาณ
รหัสวิชา กระบวนทัศน์ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และชุมชนในองค์กร
แนวทางการรายงานผลการ ดำเนินการ ตั้วบ่งชี้ที่ สกอ
หน่วยส่งเสริมและพัฒนาทางวิชาการ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
Intel® Teach Program Essentials Course v.10.1
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
ฝ่ายวางแผนและพัฒนาระบบงาน กองแผนงาน 15 กุมภาพันธ์ 2553
สรุป การประเมินผลการควบคุมภายใน
นายชยันต์ หิรัญพันธุ์
การเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและร่วมติดตาม ตรวจสอบผลการปฏิบัติราชการ วันที่ 29 มกราคม 2551.
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
สภาพแวดล้อมปัจจุบัน โลกยุคโลกาภิวัตน์ สังคม เศรษฐกิจ
การติดตาม และประเมินโครงการ.
1. แบบ SNRU-ERM 1 แบบแสดงขั้นตอนการดำเนินงาน (Key Process)
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
แบบประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลการปฏิบัติงานของบุคลากรสภากาชาดไทย
การบริหารความเสี่ยง ของสหกรณ์
การตรวจสอบ การตรวจสอบ คือ กระบวนการที่เป็นระบบ
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การเงิน.
KM เรื่อง “การบริหารความเสี่ยง” ส่วนบริหารการจัดเก็บภาษี
Analyzing The Business Case
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
เครื่องมือและ สารสนเทศ สำหรับศูนย์ สอบในระบบโอเน็ต มิถุนายน – กรกฎาคม 2553.
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
การบริหารความเสี่ยง ประเภทความเสี่ยง ความเสี่ยง (RISK)
ระดับหน่วยงาน แบบ ปย.1 แบบ ปอ.1 แบบ ปส. แบบ ปย.2 แบบ ปอ.2 แบบ ปอ.3
สรุปผลการประเมินผลการควบคุมภายใน
2 ผลการดำเนินงาน รอบ 9 เดือน ตัวชี้วัด / ข้อมูลพื้นฐาน ประกอบ ตัวชี้วัด น้ำหนั ก ( ร้อย ละ ) ผลการ ดำเนินงา น ค่า คะแนน ที่ได้ ค่า คะแนน ถ่วง น้ำหนัก.
การสื่อสารความเสี่ยง
แนวทางการจัดทำมาตรฐานความโปร่งใสของกรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ.2557
การประชุมชี้แจงรายละเอียดตัวชี้วัด ประจำปี 2556
การประชุมคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 1/2553 วันพฤหัสบดีที่ 28 มกราคม 2553 เวลา น. ณ ห้องประชุม 3 ชั้น 3 สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน.
ผังการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีเพชร
การชี้แจงรายละเอียดตัวชี้วัด การบริหารจัดการความเสี่ยงตามแนวทางการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) หมวด 2 SP7 ผ่านระบบวิดีทัศน์ทางไกลของกระทรวงมหาดไทย.
รูปแบบของการรายงานผลการ ประเมินคุณภาพภายใน ปีการศึกษา 2549/ ปีงบประมาณ คณะกรรมการประเมินคุณภาพ ภายใน 2. ข้อมูลของคณะ / หน่วยงาน ( โดยสังเขป ) 3.
ระบบเอกสารคุณภาพ เนาวรัตน์ เสียงเสนาะ สอิด
การบริหารความเสี่ยง (Risk Management)
การนำเกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการดำเนินงานที่เป็นเลิศไปพัฒนาองค์กร
เครื่องมือและสารสนเทศสำหรับศูนย์ สอบในระบบโอเน็ต กรกฎาคม 2554.
การบริหารความเสี่ยง กับการดำเนินงานห้องสมุด
การมีส่วนร่วมของประชาชนในการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม
ความเสี่ยง ความเสี่ยง หมายถึง โอกาสที่จะเกิดความผิดพลาด ความเสียหาย การรั่วไหล ความสูญเปล่า หรือเหตุการณ์ที่ไม่พึงประสงค์ ที่ทำให้งานไม่ประสบผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่กำหนดไว้
การติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติงาน (Operational Risk)
มาตรฐานการควบคุมภายใน
ขั้นตอนการใช้งานระบบ E-Project Management
แบบฟอร์ม - ERM I ดร.ทองม้วน นาเสงี่ยม ผู้เชี่ยวชาญ และที่ปรึกษา
รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม (มคอ.4)
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
วัตถุประสงค์ของการศึกษา
“ การตรวจราชการ บูรณาการเพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพระบบบริหาร ”
การควบคุมผลกาปฏิบัติงาน
การบริหารและลดความเสี่ยงด้านการเงิน
การจัดการสถานการณ์ในภาวะวิกฤติ เพื่อรองรับการชุมนุมประท้วง
อบรมคณะกรรมการ ตสน. ระดับกลุ่มเครือข่าย
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
1 I K R S การประชุม เรื่อง “ การบริหารความเสี่ยงและ การวางระบบการควบคุมภายใน ” วันพุธที่ 1 กันยายน 2547 โดย ผู้ช่วยอธิการบดี ( ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประเสริฐ.
แนวทางการรายงาน ผลการปฏิบัติงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
ตัวชี้วัดคุณภาพการให้บริการประชาชน
สำนักประเมินผล สำนักงบประมาณ
บทที่ 7 การควบคุมเชิงกลยุทธ์
กลุ่ม สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร.
รายละเอียดของรายวิชา (มคอ.3)
1. ศึกษาการนำเสนอที่หลากหลาย 2. เลือกวิธีการที่เหมาะสม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การประเมินความเสี่ยง เพื่อวางแผนการตรวจสอบ

วัตถุประสงค์ในการวางแผนการตรวจสอบ ช่วยให้มั่นใจว่าทุกกิจกรรมได้รับการตรวจสอบอย่างครบถ้วน ตามลำดับความสำคัญ ฝ่ายบริหารและคณะกรรมการตรวจสอบมีส่วนร่วมในการพิจารณาให้ความเห็นและอนุมัติ แสดงถึงการปฏิบัติงานตามมาตรฐานเป็นที่ยอมรับจากผู้บริหารและผู้รับตรวจ เป็นเครื่องมือควบคุมกิจกรรมตรวจสอบ

การวางแผนการตรวจสอบตามความเสี่ยง กิจกรรมที่มีความเสี่ยงสูงได้รับการตรวจสอบก่อน ใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิผล คุ้มค่า เป็นไปตามมาตรฐานการตรวจสอบภายใน

เทคโนโลยีช่วยในการปฏิบัติงาน ระบบสารสนเทศเพื่อบริหารงานตรวจสอบ พัฒนาระบบด้วย Oracle Developer Suite ระบบจัดการฐานข้อ มูล Oracle Database 10g Microsoft operating System windows 2003 Server Client Microsoft window XP

ระบบสารสนเทศเพื่อบริหารงานตรวจสอบ Information System For Internal Auditing and Risks Assessment : IIARA มีระบบย่อย 9 ระบบ

ระบบที่ 1 ระบบการจัดการงานตรวจสอบภายใน (Internal Audit Management System) บันทึกข้อมูลหลักเพื่อการวางแผนการตรวจสอบประจำปี ข้อมูลหน่วยงานภายในองค์กร ข้อมูลกิจกรรมงานตรวจสอบภายใน ข้อมูลปัจจัยเสี่ยงขององค์กร ข้อมูลทีมงานตรวจสอบภายใน ข้อมูลวันลาวันหยุด

ระบบที่ 2 ระบบผู้รับการตรวจสอบภายใน (Engagement Client System) การระบุระบบงานที่เข้าตรวจสอบ วัตถุประสงค์ ขอบเขตการตรวจสอบ การประเมินความเสี่ยงในระดับระบบงาน ให้น้ำหนักปัจจัยความเสี่ยง ให้คะแนนความเสี่ยง

ระบบที่ 3 ระบบแผนงานตรวจสอบภายใน (Audit Plan System) การวางแผนงานการตรวจสอบประจำปี เลือกระบบที่จะเข้าตรวจตามลำดับความเสี่ยง กำหนดระยะเวลาที่ใช้ในการตรวจสอบ วันทำงานของสายงานตรวจสอบ ติดตามสถานการณ์ปฏิบัติงาน จัดทำแผนปฏิบัติงานตรวจสอบ

ระบบที่ 4 ระบบจัดการงานตรวจสอบภายใน (Engagement Work System) จดหมายเปิดตรวจ บันทึกสถานะงานตรวจสอบภายใน เก็บข้อมูลเอกสารต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานตรวจสอบ เช่น จดหมายเปิดตรวจ ข้อมูลการสัมภาษณ์ผู้รับตรวจ ข้อมูลและเอกสารต่างๆ

ระบบที่ 5 ระบบประเมินความเสี่ยงและการควบคุม (Risk and Control Assessment System) บันทึกขั้นตอนกระบวนการทำงาน วัตถุประสงค์ของกระบวนการทำงาน เป้าหมายของงานที่มีผลต่อวัตถุประสงค์การควบคุมภายใน เหตุการณ์ความเสี่ยงของแต่ละวัตถุประสงค์ โอกาสและผลกระทบที่อาจเกิดผลเสียหาย กระบวนการควบคุมภายในในแต่ละขั้นตอน

ระบบที่ 6 ระบบแนวทางการตรวจสอบภายใน (Engagement Program System) การพัฒนาแนวการตรวจสอบภายใน เลือกระบบ/กระบวนงานตรวจสอบ บันทึกวัตถุประสงค์ในการตรวจสอบ บันทึกเทคนิคการตรวจสอบภายใน ขั้นตอน วิธีการตรวจสอบ กำหนดผู้ตรวจสอบภายในที่รับผิดชอบในแต่ละขั้นตอน

ระบบที่ 7 ระบบการตรวจสอบภายในงานภาคสนาม (Audit Fieldwork System) จัดทำกระดาษทำการบันทึกผลการปฏิบัติงาน บันทึกวัตถุประสงค์ ขอบเขต เทคนิคการตรวจสอบ สรุปประเด็นตรวจพบ หลักเกณฑ์ ข้อเท็จจริง สาเหตุ ผลกระทบและข้อเสนอแนะ สอบทานกระดาษทำการ จัดทำดัชนีประเด็นตรวจพบ

ระบบที่ 8 ระบบสื่อสารและรายงานการตรวจสอบภายใน (Communication and Report System) จัดทำดัชนีสรุปข้อตรวจพบ โดยนำข้อมูลจากงานภาคสนาม ร่างรายงานการตรวจสอบจากข้อมูลกระดาษทำการ บันทึกความคิดเห็นของผู้รับบริการ วันที่เริ่มดำเนินการตามข้อเสนอแนะ รายงานผลการตรวจสอบ

ระบบที่ 9 ระบบติดตามผลการตรวจสอบภายใน (Follow Up System) ติดตามผลการตรวจสอบที่ได้ออกรายงานไป วางแผนการติดตามผลการตรวจสอบ บันทึกความคืบหน้าของการติดตามผลการตรวจสอบ จัดทำรายงานการติดตามผลการตรวจสอบภายใน

Contact Us สำนักงานตรวจสอบภายใน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 254 อาคารจามจุรี 4 ชั้น 4 ถนนพญาไท เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 http://www.internal-audit.chula.ac.th/ โทรศัพท์ 02-218-3343-5