นิเวศวิทยาและพฤติกรรม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นันทนา คชเสนี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ชีววิทยา (Biology) มัธยมศึกษาตอนต้น.
Advertisements

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการ
ENVIRONMENTAL SCIENCE
กลไกการวิวัฒนาการ.
บทที่ ๑ ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับการวิเคราะห์ และออกแบบระบบสารสนเทศ (Introduction to Information System Analysis) 22/7/03 บทที่
การเปลี่ยนแปลงทางสังคม
การออกแบบการจัดการเรียนรู้ สะท้อนธรรมชาติวิทยาศาสตร์
การจัดระเบียบทางสังคม
เนื้อหา (กลางภาค) พฤติกรรมมนุษย์ การขัดเกลาทางสังคม
Physiology of Crop Production
ความหลากหลายทางชีวภาพของสัตว์
โครงงานสำรวจความหลากหลายทางชีวภาพบริเวณป่าชายเลนบ้านอำเภอ
แม่ครู ประทุมทิพย์ เกื้อหนุน
ระบบที่จะเกิดขึ้นใหม่ทางช้างเผือกคือ
ประชากร (Population) Gajaseni, 2001.
แบบของการเพิ่มประชากร
เพราะฉะนั้น ในแต่ละลำดับขั้นของระบบชีวิตจะมีปฏิสัมพันธ์เกี่ยวกับ
Ecological Balance Ecosystem Homeostatic System
ระบบนิเวศ (Ecology) Gajaseni, 2001.
ถาม สารอาหารหมุนเวียนในระบบนิเวศอย่างไร?
ผลจากปฏิสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
สรุป เนื่องจากดูเหมือนว่าสิ่งแวดล้อมเป็นตัวกำหนดลักษณะการกระจายของพืชพรรณ ดังนั้นถ้าบริเวณใดมีการเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อมเหมือนที่เกิดขึ้นตามเส้นรุ้ง ก็น่าจะมีลักษณะของพืชพรรณเหมือนกันด้วย.
Ecology นิเวศวิทยา Jaratpong moonjai.
การวางแผนกลยุทธ์.
การปรับเปลี่ยนวิธีคิดทำงานใหม่
หัวใจของแผน HRD หัวใจของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
การพัฒนาที่ยั่งยืน การพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development) คือ การพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรธรรมชาติเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของประชากรโลก.
ระบบสุริยะ (Solar System).
การปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อม
ความหลากหลายของมนุษย์ในปัจจุบัน เชื้อชาติกับวัฒนธรรม
๒ การจัดระเบียบทางสังคม (Social Organization)
ระบบนิเวศ (ECOSYSTEM)
ตรีโกณมิติ.
การติดตาม และประเมินโครงการ.
มนุษย์จะได้ชื่อว่าเป็นผู้ที่มีคุณภาพชีวิตที่ดีได้ ก็เพราะการรู้จักเลือกประกอบกิจกรรมนันทนาการ สรุปเนื้อหาสาระจาก นันทนาการและการจัดการ พีระพงศ์ บุญศิริ
The General Systems Theory
1. การพัฒนาประชาธิปไตย : สถาบัน
KM เรื่อง “การบริหารความเสี่ยง” ส่วนบริหารการจัดเก็บภาษี
ระบบความเชื่อ.
นำเสนอโดย น.ส. วิไล เดชตุ้ม
จิตวิทยากับองค์กรธุรกิจอุตสาหกรรม
(Organizational Behaviors)
โครงสร้างและวัฒนธรรมองค์การ (Organizational Structure and Culture)
บทที่ 12 การเปลี่ยนแปลง และการพัฒนาองค์การ.
วิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
การก้าวสู่องค์กรแห่ง การเรียนรู้. * กระแสการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นมันรวดเร็วและรุนแรง ก็ด้วยปัจจัยที่ เกิดจากการก้าวกระโดดของเทคโนโลยีสาร สนเทศ ส่งผลให้เวทีการ.
วัยรุ่นกับปัจจัยทางสังคมที่ส่งผลต่อพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ
พฤติกรรม / การกระทำที่ สะท้อนความมีคุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาล ดร. สมโภชน์ นพคุณ รองเลขาธิการ ก. พ. สำนักงาน ก. พ.
ทบทวนทฤษฎีหลักสูตร ดร.อมรา เขียวรักษา.
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ทฤษฎีการปรับตัวของรอย
Ecology.
ชีวะ ม. ปลาย.
ข้อเสนอแนะ 1.ภาษาไทย สาระการฟัง การดูและการพูด มฐ. ท3.1 สาระการฟัง การดูและการพูด มฐ. ท3.1 สาระหลักการใช้ภาษา มฐ. ท 4.1 สาระวรรณคดีและวรรณกรรม.
สรุประบบเทคโนโลยี สมาชิกกลุ่ม 1.น.ส.มยุรี ริยะอุด เลขที่ 1 ม.4.10
การจัดการองค์ความรู้ ระบบการผลิตที่ยั่งยืน ความพอเพียงในการดำรงชีพ
กิจกรรมละลายพฤติกรรม
จัดทำโดย เด็กหญิง นันท์นภัส ขะชาติ ชั้น ม.1/13 เลขที่ 24
นายณัฐวุฒิ ปานแก้ว รหัส 039 คอม ปวช 1/2
รหัส หนังสือหมวดวิชาชีพพื้นฐาน หลักเศรษฐศาสตร์
เทคโนโลยีกับศาสตร์ จากความหมายของคำว่า "วิทยาศาสตร์" และความหมายของคำว่า "เทคโนโลยี" ที่กล่าวมาข้างต้นจะเห็นว่า วิทยาศาสตร์เป็นความรู้ที่นำไปใช้อธิบายได้ว่า.
จัดทำโดย ปฏิภาณ ไชยกุล อดิศร สุดดวง
ความสัมพันธ์ของ วิทยาศาสตร์กับ เทคโนโลยี จากความหมายของคำว่า " วิทยาศาสตร์ " และความหมายของคำว่า " เทคโนโลยี " อธิบายได้ว่า ทำไมจึงเป็น อย่างนั้น นักชีววิทยาจะอธิบายได้ว่า.
หน่วยการเรียนที่ 2 สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรทางธรรมชาติ
Energy flow of organis m. ความสัมพันธ์ของ สิ่งมีชีวิตชนิดต่าง ๆ ในระบบ นิเวศที่มีการกินต่อกันเป็นทอด ๆ และมักเริ่มต้นด้วย ผู้ผลิต.
กลุ่ม คาวาอี้ ~~ จัดทำโดย ชั้น ม.4.11 นางสาว กรรณิการ์ ใจวัง เลขที่ 7
ฟิสิกส์คืออะไร ฟิสิกส์ เป็นวิทยาศาสตร์ที่ว่าด้วยการศึกษาเกี่ยวกับ พฤติกรรมธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต สสาร พลังงาน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ รวมไปถึง ปรากฏการณ์ที่เกิดตามธรรมชาติต่างๆ.
21.5 การเปลี่ยนแปลงแทนที่
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นิเวศวิทยาและพฤติกรรม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นันทนา คชเสนี (Ecology & Behaviour) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นันทนา คชเสนี Gajaseni, 2001

คำจำกัดความ นิเวศวิทยา = วิทยาศาสตร์ที่ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม Gajaseni, 2001

ขอบเขตของนิเวศวิทยา นิเวศวิทยา สรีรวิทยา พันธุ์ศาสตร์ พฤติกรรม วิวัฒนาการ Gajaseni, 2001

ลำดับขั้นของธรรมชาติ ภายใต้จักรวาลซึ่งไม่มีขอบเขตจำกัดนั้นมีองค์ประกอบเป็นกาแลคซี่มากมาย ซึ่งในแต่ละกาแลคซี่จะมีระบบสุริยะและดาวเคราะห์เป็นองค์ประกอบ หนึ่งในนั้นคือ กาแลคซี่ทางช้างเผือก โดย โลก เป็นดาวเคราะห์ดวงหนึ่งในระบบสุริยะของกาแลคซี่นี้ Gajaseni, 2001

Gajaseni, 2001

สิ่งมีชีวิตในธรรมชาติ ดำรงอยู่ได้อย่างไร Gajaseni, 2001

คำถามทางนิเวศวิทยา 1. ระดับสิ่งมีชีวิต 1.1 สิ่งมีชีวิตปรับพฤติกรรม ลักษณะทางสรีระ, สัณฐาน ให้เหมาะสมต่อการเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อมอย่างไร 1.2 การกระจายของสิ่งมีชีวิตเกิดขึ้นได้อย่างไรและถูกจำกัดด้วยปัจจัยใด 2. ระดับประชากร 2.1 ปัจจัยใดที่มีผลต่อขนาดและองค์ประกอบของประชากร 3. ระดับสังคมชีวิต 3.1 ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกในสังคมชีวิตมีผลต่อโครงสร้างและการ จัดการองค์กรของสังคมชีวิตนั้น ๆ อย่างไร 4. ระดับระบบนิเวศ 4.1 การถ่ายเทของสสารและพลังงานในระบบนิเวศเกิดขึ้นได้อย่างไรและปัจจัยอะไรที่ทำหน้าที่ควบคุม Gajaseni, 2001

โลก ระบบนิเวศ สังคมชีวิต ประชากร สิ่งมีชีวิต Gajaseni, 2001

ทำไมสิ่งมีชีวิตจำเป็นต้องสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม รูป Gajaseni, 2001

หน่วยทางชีววิทยา ระบบชีวิตที่ปรากฎ หน่วยทางชีววิทยา ระบบชีวิตที่ปรากฎ ยีนส์ เซลล์ อวัยวะ สิ่งมีชีวิต ประชากร กลุ่มประชากร ระบบยีนส์ ระบบ เซลล์ ระบบ อวัยวะ ระบบ สิ่งมีชีวิต ระบบ ประชากร ระบบนิ เวศ ระบบนิเวศโลก ( Ecosphere ) + สสาร, พลังงาน Gajaseni, 2001

ระบบชีวิต: Biosystem คือ ระบบที่เกิดจากการที่หน่วยทางชีววิทยาในแต่ละระดับเข้ามามีปฏิสัมพันธ์กับองค์ประกอบต่างๆ ในสภาพแวดล้อม แล้วเกิดการจัดองค์กรที่มีรูปแบบเฉพาะเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันซึ่งประกอบด้วยส่วนย่อยๆ และขณะเดียวกัน ระบบนั้นจะทำหน้าที่เป็นระบบย่อยของระบบที่ใหญ่กว่า Gajaseni, 2001

ระบบสิ่งมีชีวิต ระบบประชากร ระบบนิเวศ ระบบนิเวศโลก Gajaseni, 2001