ศึกษาอัตราส่วนการพ่นเชื้อรา Trichoderma ที่มีผลต่อการอยู่รอดของกิ่งปักชำ โดยควบคุมด้วยความชื้นในวัสดุปลูก (Group) โรงเรียน ปิยชาติพัฒนา ในพระราชูปถัมภ์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สารชีวโมเลกุล : โปรตีน
Advertisements

E-learning วิทยาลัยราชพฤกษ์.
第十课 我换人民币 บทที่ 10 ฉันแลกเงินจีน
อาหารเสริมพืช สูตรนาโน
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
สำนักงานเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร
ยินดีต้อนรับเข้าสู่การเรียนรู้ โดย รองศาสตราจารย์มาลี กาบมาลา
การย้ายต้นกล้าแบบล้างราก
นายชูเกียรติ เมืองกรุง ครู โรงเรียนเทศบาล ๓ (หล่ายอิงราษฏร์บำรุง)
สรุปผลการดำเนินงานของคณะทำงาน
รายงาน ผลการประเมินคุณภาพ ประจำปี 2552 ภาควิชาพัฒนาการเกษตร คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
Lab 1. การเก็บตัวอย่าง และการจำแนกชนิดวัชพืช
นิยามศัพท์ทางเภสัชวิทยา
ตัวอย่างผลงานนักเรียน วรรณยุกต์ภาษาจีน. วรรณยุกต์จีน 4 เสียง วรรณยุกต์ในระบบสัทอักษรภาษาจีน มีทั้งหมด 4 รูป มีชื่อเรียกดังนี้ อินผิง เอี๋ยงผิง ส่างเซิง.
การทดสอบเลี้ยงต้นหม้อข้าวหม้อแกงลิงในดินชนิดต่างๆ
รสชาติอาหารจีน 4 ตระกูล อาหารเสฉวน (川菜-ชวนไช่)
หลักสูตรวิศวกรรมศาสตร์มหาบัณฑิต และดุษฎีบัณฑิต ภาควิชาวิศวกรรมแหล่งน้ำ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จัดทำโดย เสนอต่อ น.ส.ธัญนาถ ยกชม เลขที่ 3 ม.6/7
93343 หลักโภชนศาสตร์ และอาหารสัตว์
ศึกษาโครงงานพิเศษ (Study Project) 1/2557
เทคโนโลยีปุ๋ย ปุ๋ย หมายถึง สารหรือสิ่งซึ่งเราใส่ลงไปในดิน เพื่อวัตถุประสงค์ให้ปลดปล่อยธาตุอาหารพืชโดยเฉพาไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม พืชสามารถเจริญเติบโตงอกงามดีและให้ผลิตผลสูงขึ้น.
รูปแบบการเขียนรายงานผลการทดลอง
ส่วนที่ใช้ประโยชน์หลัก – ผล เพื่อการบริโภค
กลุ่มที่ 2 ผู้ปฏิบัติงานด้านการประกันคุณภาพ
สรุปผลงานความร่วมมือระหว่างห้องสมุด
องค์ความรู้น้ำส้มควันไม้ สายด่วนข้อมูลปฏิรูปที่ดิน
ระเบียบกรมวิชาการเกษตรว่าด้วยการขึ้นทะเบียนวัตถุอันตรายทางการเกษตรพ. ศ
การสนับสนุน ทุนอุดหนุนวิจัยมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
เรื่อง น้ำยาไล่แมลงวัน
โครงงานเทคโนโลยี เรื่อง กำจัดศัตรูผักคะน้าด้วยสมุนไพรธรรมชาติ
แนะนำผู้ดูแลโรงเรียนขนาดเล็ก
มหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น
การเขียนข้อเสนอการวิจัย
โดย นายสุพันธ์ อินทะแสง นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ
หน้าที่ ของผู้จัดและผู้ให้การศึกษานั้น กล่าว อย่างสั้นที่สุดก็คือการให้คนได้เรียนดี เพื่อที่จะ สามารถทำการงานสร้างตัวและดำรงตัวให้เป็นหลัก เป็นประโยชน์แก่ส่วนรวมได้
ระบบการสอนของดิคและคาเรย์
ระบบการสอนของดิคและคาเรย์
การปลูกพืชกลับหัว.
วิธีเพาะเมล็ดไผ่ (สามารถใช้กับไผ่ได้ทุกชนิด)
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ชายหาดทะเลในจังหวัดระยอง
มหาวิทยาลัยบูรพา.
มาหาวิทยลัยบูรพา.
คณะ ศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา จัดทำโดย นางสาว นุชธิดา เนียรศิริ
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
การใช้สารเคมี สมาคมอารักขาพืชไทย ได้ถือกำเนิดขึ้นเมื่อปี พ.ศ ใช้ชื่อในขณะนั้นว่า “ สมาคม ผู้ประกอบธุรกิจสารเคมีกำจัดศัตรูพืช : ส.ธ.ก. ( Thai Pesticide.
สมคิด เฉลิมเกียรติ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร 7ว
การคัดพันธุ์ข้าว โดย ภูมิปัญญาท้องถิ่น ของนายทองเหมาะ แจ่มแจ้ง
น้ำหมักปลาร้าปราบ เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง โดย นายอาสา ประทุมศาลา นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ.
ผลของสารสกัดสะเดา ในการป้องกันและกำจัดแมลง
การจัดการความรู้ เรื่อง การใช้สารชีวภัณฑ์แทนการใช้สารเคมี
โรครากเน่าโคนเน่าส้ม
วิกฤตคุณภาพอุดมศึกษาไทย
แนวทางการจัดทำ SAR การเตรียมข้อมูล รูปแบบรายงาน การนำเสนอ.
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง การศึกษาเปรียบเทียบอัตราส่วนน้ำยาฟอกฆ่าเชื้อจากสารเคมีและสูตรอาหารที่เหมาะสมต่อการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อเมล็ดหม้อข้าวหม้อแกงลิง.
บริการแนะนำการผลิตตำรา งานวิจัยและการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ
การประเมินคลินิกNCD คุณภาพ
หน่วยบริการวิชาการ วิทยาลัยนวัตกรรมสื่อสารสังคม มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ โครงการบริการวิชาการเพื่อพัฒนาองค์ความรู้ของ คณาจารย์และนิสิต กิจกรรมหลักที่
งานแนะแนว.
เพื่อการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร.พันธ์ ทองชุมนุม
14. การเขียนโครงร่างการวิจัย (แบบ ว -๑) (Proposal)
ข้อสอบกลางภาค ประจำภาคเรียนที่
นางนุชนาฎ หิรัญ โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
เครื่องมือ-วัสดุอุปกรณ์
การเจริญเติบโตของพืช
การเจริญเติบโตของหม้อข้าวหม้อแกงลิงที่ปลูกในวัสดุปลูกที่มีในท้องถิ่น
การปรับเปลี่ยนผลักดันการพัฒนาด้านทรัพยากรบุคคล: Measures and Drives of Personnel work load กลุ่มที่ 2.1 ประธานกลุ่ม/ผู้นำเสนอ ผศ.ดร.อุดมศักดิ์ เห่วซึ่งเจริญ.
5. การทาบกิ่ง แบ่งออกได้เป็น 2 แบบ
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการภาษานุสรณ์บางแค
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ศึกษาอัตราส่วนการพ่นเชื้อรา Trichoderma ที่มีผลต่อการอยู่รอดของกิ่งปักชำ โดยควบคุมด้วยความชื้นในวัสดุปลูก (Group) โรงเรียน ปิยชาติพัฒนา ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

เรื่องที่จะศึกษา ศึกษาการเจริญเติบโตหรือการอยู่รอดของต้นหม้อข้าวหม้อแกงลิงโดยการขยายพันธุ์มาจากการ Cutting โดยใช้หม้อข้าวหม้อแกงลิงสายพันธุ์ Ventrata คือพันธุ์ผสมจาก Ventocosa x alata

หม้อข้าวหม้อแกงลิงสายพันธุ์ Ventrata คือพันธุ์ผสมจาก Ventocosa x alata

และเชื้อราชนิดนี้ส่งผลต่อความชื้นอย่างไรบ้าง วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาว่าเชื้อรา Trichoderma ส่งผลให้ต้นหม้อข้าวหม้อแกงลิง เจริญเติบโตได้อย่างรวดเร็วจริงหรือไม่ และเชื้อราชนิดนี้ส่งผลต่อความชื้นอย่างไรบ้าง

ขั้นตอนการดำเนินงาน สร้างเครื่องมือเซนเซอร์วัดความชื้นในวัสดุปลูก เพื่อนำมาใช้ตรวจวัดความชื้นเมื่อฉีดพ่นเชื้อราในต้นหม้อข้าวหม้อแกงลิงและนำค่ามาเปรียบเทียบในเวลาที่แตกต่างกัน ขยายเชื้อรา Trichoderma ในข้าวเพื่อนำมาฉีดในต้นหม้อข้าวหม้อแกงลิง เพื่อนำมาศึกษา เตรียมกิ่งปักชำของพันธุ์ Ventrata เพื่อศึกษาการอยู่รอดเมื่อใช้เชื้อรา Trichoderma

วัสดุที่ใช้ 1.ขุยมะพร้าวผสมหินภูเขาไฟ 2.แกลบผสมหินภูเขาไฟ 3.มะพร้าวสับผสมหินภูเขาไฟ

โดยนำวัสดุมาผสมกันในอัตราส่วนดังนี้ หมายเหตุ 1 คือ ใช้ส่วนผสมของชนิดนั้น 0 คือ ไม่มีการใช้ส่วนผสมชนิดนั้น โดยนำวัสดุมาผสมกันในอัตราส่วนดังนี้ แบบพ่นเชื้อรา ขุยมะพร้าวผสมหินภูเขาไฟ     แกลบผสมหินภูเขาไฟ     มะพร้่าวสับผสมหินภูเขาไฟ  ถาดที่ 1 1                 :                0                :                   1  ถาดที่ 2      1                 :                1                :                   0  ถาดที่ 3      0                 :                1                :                   1 แบบไม่้พ่นเชื้อรา  ถาดที่ 1      1                 :                0                :                   1  ถาดที่ 2      1                 :                1                :                   0 ถาดที่ 3 0                 :                1                :                   1

ในการพ่นเชื้อรานั้นจะแบ่งเวลาออกเป็น 3 ช่วงเวลาดังนี้ 1. ตอนเช้า  เวลา 08.00 น. 2. ตอนสาย เวลา 10.00 น. 3. ตอนบ่าย เวลา 14.00 น. พ่นทุกๆ 2 วัน

เราจะประมาณการใช้ความเข้มข้นของสารประมาณ 1 เราจะประมาณการใช้ความเข้มข้นของสารประมาณ 1.0 มิลลิลิตร/ลิตร โดยอ้างอิงจากเอกสาร สนอง ทองปาน(1) กล่าวว่า " การวิจัยที่วิจัยการใช้ trichoderma ในการรักษาและป้องกันโรคโคนรากเน่าโดยใช้ต้นราชชินีหินอ่อนและมีความเข้มข้น ของสารเป็น 4.0 มิลลิลิตร/ลิตร " เราจึงประมาณการเอาโดยไม่สามารถบอกได้แน่ชัดว่าจะส่งผลได้จริงหรือไม่ เนื่องจากขนาดของต้นไม่เท่ากันและการเจริญเติบโต โครงสร้างของต้นต่างกัน เลยลองประมาณการใช้ความเข้มข้นแค่ประมาณ 1.0 มิลลิลิตร การตรวจวัดความชื้นหลังจากพ่่นเชื้อราจะตรวจหลังการพ่นเชื้อรา 2 วันหลังจากฉีดพ่นตามเวลาที่กำหนดในแต่ละครั้ง ว่ามีการเปลี่ยนแปลงมากน้อยเพียงใด แต่ละชุดการทดลองแตกต่างกันอย่างไร มีการพัฒนาอะไรขึ้นบ้าง

การตรวจวัดความชื้นหลังจากพ่่นเชื้อราจะตรวจหลังการพ่นเชื้อรา 2 วันหลังจากฉีดพ่นตามเวลาที่กำหนดในแต่ละครั้ง ว่ามีการเปลี่ยนแปลงมากน้อยเพียงใด แต่ละชุดการทดลองแตกต่างกันอย่างไร มีการพัฒนาอะไรขึ้นบ้าง

จุดมุ่งหมาย ถ้าเชื้อรา Trichoderma สามารถส่งผลให้พืชเจริญเติบโตได้อย่างรวดเร็วและรักษาโรคโคนรากเน่าได้ แล้วเชื้อราชนิดนี้จะสามารถทำให้ต้นหม้อข้าวหม้อแกงลิงเจริญเติบโตได้

เอกสารอ้างอิง (1) สนอง ทองปาน สาขาวิชาการมัธยมศึกษา กลุ่มการสอนสิ่งแวดล้อม คณะศึกษาศาสตร์ และศูนย์วิจัยและการจัดการความรู้ทางพฤกษศาสตร์ หาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ งานวิจัยเรื่องนี้ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากศูนย์วิจัยและการจัดการความรู้ทางพฤกษศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร http://www.siamexotica.com/Carnivorous-Growing.html http://www.neofarmthailand.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=307804&Ntype=2

สมาชิก นาย สิทธิโชค จมจา. นางสาว นุชเนตร พิมแพง นางสาว มาริษา อรรถาลำ