นำเสนองาน my mapping เรื่อง วิธีการทางประวัติศาสตร์ จัดทำโดย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การประชุมแผนแม่บทพัฒนาลุ่มน้ำในเขตอำเภอแม่จัน 31 มีนาคม 2553 ณ ลานทองอุทยานวัฒนธรรมลุ่มน้ำโขง แผนพัฒนาลุ่มน้ำในเขตอำเภอแม่จัน.
Advertisements

งานนำเสนองานวิจัย. เรื่อง พฤติกรรมการใช้จ่าย. ของประชาชนในเขตชุมชน
โดย ฝ่ายติดตามนโยบาย ก้อย หนิง แก้ว. ประเด็นการศึกษา.
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
ผลการปฏิบัติงานตามคำรับรองการปฏิบัติงานของ
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
โครงการริเริ่มสร้างสรรค์เพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชุมชน ปี ๒๕๕๗
ปทิตตา มีชิตสม นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ
โดย โครงการช่วยกันสานเพื่อส่งเสริมคุณค่าผู้สูงอายุ
แนวทางการรายงาน ผลการปฏิบัติงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กระบวนทัศน์ทิศทางงานอภิบาล วิธีดำเนินการสัมมนาภาค
Thesis รุ่น 1.
ความหมาย ปรัชญาและวัตถุประสงค์ ของงานส่งเสริมการประมง
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ลานวัฒนธรรมพื้นบ้านอีสาน สร้างอาชีพ
แบบฟอร์มยืนยัน แผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
การจัดการศึกษาในชุมชน
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ กับกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
และอนามัยสิ่งแวดล้อม
โรงเรียน อสม.ตำบลหนองไม้แก่น
การแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในชุมชน
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับแผนชุมชน
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
กรมการพัฒนาชุมชน พันธกิจ วิสัยทัศน์ ประเด็นยุทธศาสตร์ วิสัยทัศน์
กลุ่มงานส่งเสริม การพัฒนาทุน
“ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ”
องค์การบริหารส่วนตำบล (อบต.)
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2550 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2550 มาตรา 66 บุคคลซึ่งรวมกันเป็นชุมชน ชุมชนท้องถิ่น หรือชุมชนท้องถิ่นดั้งเดิม.
ความก้าวหน้าการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สูการปฏิบัติ
กฎหมายที่เกี่ยวข้อง ความรู้พื้นฐาน กับกฎหมายสาธารณสุข กานต์ เจิมพวงผล
การจัดการที่ดินทำกินและที่อยู่อาศัย โดยขบวนองค์กรชุมชนและท้องถิ่น
วาระที่ 3.5 การขอสนับสนุนงบประมาณ จากกองทุนสิ่งแวดล้อม
การจัดทำแผนปฏิบัติการ ศึกษาพัฒนาและผลิตสื่อ ทางประวัติศาสตร์ในชุมชน
๑.เทคนิคสำคัญ ใช้กระบวนการมีส่วนร่วม โดยให้แกนนำในพื้นที่เข้ามามีส่วนร่วมเป็นวิทยากร ใช้กิจกรรมนันทนาการจุดประกายขณะเปิดเวที เช่น เพลง “สดุดีมหาราชา” รูปแบบเวทีเป็นธรรมชาติ
การรายงานความก้าวหน้าในระบบ
กลุ่มที่ 1.
กลุ่ม 3 ผู้นำเสนอ นายปรีชา คงเกลี้ยง เกษตรอำเภอเมืองชลบุรี
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
หลักการและเหตุผล หน่วยงานภาครัฐ/ เอกชน ต่างคนต่างทำงานไม่ได้เชื่อมประสานการทำงานเป็นเครือข่าย โรคและภัยสุขภาพเกิดขึ้นในทุกพื้นเพียงแต่แตกต่างกันในรายละเอียด.
สำนักงานเกษตรอำเภอนาด้วง จังหวัดเลย
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการศึกษาพิเศษ
โครงการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้แบบมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน
โดย นายแพทย์วุฒิไกร มุ่งหมาย นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดอุบลราชธานี
การจัดทำแผนยุทธศาสตร์อำเภอชุมพลบุรี
3.การจัดทำงบประมาณ.
ตัวชี้วัด ร้อยละของเทศบาลและองค์การบริหารส่วนตำบล ที่นำแผนชุมชนสู่การพัฒนาท้องถิ่นได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด.
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
การพัฒนานวัตกรรมการศึกษา
แผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2550 – 2552) องค์การบริหารส่วนตำบลทางเกวียน
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
การจัดการด้านสุขภาพของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สู่เมืองไทยแข็งแรง รัฐบาลได้ประกาศให้ “ เมืองไทยแข็งแรง ” โดยกำหนด เป้าหมายให้คนไทยแข็งแรงถ้วน หน้า ในปี
จังหวัดนราธิวาส โครงการบำบัดทุกข์ บำรุงสุข แบบ ABC
บุปผชาติ ทัฬหิกรณ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
กรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น เขตพื้นที่การศึกษา เชียงรายเขต 1
วิสัยทัศน์การพัฒนาตำบล
แนวทางการรายงาน ผลการปฏิบัติงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
การขับเคลื่อนการดำเนินงาน เครือข่ายสภาวัฒนธรรม
3. หลักการวิจัย หลักการวิจัย : สำราญ สาราบรรณ์.
การศึกษาเพื่อสืบสวนหา ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับความเป็นมาของ สิ่งใดสิ่งหนึ่ง หรือเหตุการณ์ใด เหตุการณ์หนึ่ง จากหลักฐานที่ได้มี บันทึกเก็บไว้ หรือประสบการณ์จากผู้รู้
ประกอบด้วย จังหวัด 1. ลำพูน 2. อุบลราชธานี 3. สุพรรณบุรี 4. สุรินทร์
ทฤษฎีการวิจารณ์ศิลปะ
เก็บตกคำถามจาก สมศ..
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นำเสนองาน my mapping เรื่อง วิธีการทางประวัติศาสตร์ จัดทำโดย เรื่อง วิธีการทางประวัติศาสตร์ จัดทำโดย นางสาว จุฬาลักษณ์ เถื่อนสมบัติ ห้อง 5/2 เลขที่ 10 นำเสนอ อาจารย์ อรวรรณ กองพิลา

เรื่องวิธีการทางประวัติศาสตร์ 1.หลักการและเหตุผล การศึกษาประวัติศาสตร์ท้องถิ่นโดยคนในท้องถิ่นเป็นการศึกษาประวัติศาสตร์บอกเล่า (มุขปาฐะ) เป็นข้อมูลจากประสบการณ์ ซึ่งเป็นการแสดงการยอมรับต่อศักดิ์ศรีของคนในท้องถิ่น นอกจากนี้การศึกษาประวัติศาสตร์ท้องถิ่นช่วยสร้างกระแสเกี่ยวกับจิตสำนึกท้องถิ่นให้เกิดความรัก ความภูมิใจต่อท้องถิ่น 2. วัตถุประสงค์ 2.1 เพื่อส่งเสริมให้ชุมชนหรือท้องถิ่นได้มีการศึกษา รวบรวมข้อมูลและเรื่องราวต่าง ๆ ของท้องถิ่น 2.2 เพื่อส่งเสริมให้ชุมชนหรือท้องถิ่นนำข้อมูลหรือข้อค้นพบจากการศึกษาประวัติศาสตร์ท้องถิ่นไปปรับใช้ในการเพิ่มคุณค่าและมูลค่าของสินค้าและบริการทางวัฒนธรรมของท้องถิ่น

4. ขั้นตอนการดำเนินงาน/กิจกรรม 3. เป้าหมาย 3.1 เชิงปริมาณ 3.1.1 สนับสนุนงบประมาณโครงการศึกษาประวัติศาสตร์ท้องถิ่นไม่น้อยกว่าปีละ 1 โครงการ 3.2 เชิงคุณภาพ 3.2.1 การศึกษาประวัติศาสตร์วัฒนธรรมที่ดำเนินการ ตรวจสอบความถูกต้องและการยอมรับร่วมกันของคนในท้องถิ่น 4. ขั้นตอนการดำเนินงาน/กิจกรรม 4.1 ขั้นเตรียมการ เช่น การแต่งตั้งคณะทำงาน การพิจารณาสนับสนุนงบประมาณ และเสนอขออนุมัติโครงการฯลฯ 4.2ขั้นดำเนินการ เช่น ประสานการเปิดเวทีเพื่อสำรวจ รวบรวมและตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล การจัดกิจกรรมการศึกษาดูงาน ฯลฯ 4.3 ขั้นติดตามและสรุปผล เช่น ติดตามความก้าวหน้าการวิจัย การตรวจรับโครงการฉบับสมบูรณ์ ฯลฯ

5. ขอบเขตการศึกษา 5.1 พื้นที่การศึกษา เช่นหมู่บ้านหรือชุมชนที่อยู่ใกล้เคียงและมีประวัติศาสตร์ร่วมกันหรือมีวัฒนธรรมที่คล้ายคลึงกัน 5.2 ประเด็นหรือเนื้อหาสาระในการศึกษา เช่น 1. สภาพภูมิศาสตร์ สิ่งแวดล้อม และกลุ่มคน 2. พัฒนาการของท้องถิ่น เช่น ความเป็นมาของท้องถิ่น การตั้งถิ่นฐาน และการเปลี่ยนแปลงเหตุการณ์ที่สำคัญ ฯลฯ 3.ประเพณีและความเชื่อ เช่น ประเพณีท้องถิ่น การแต่งกาย ขนบธรรมเนียม พิธีกรรม ความเชื่อของแต่ละ 6. ระยะเวลาดำเนินการ วั 1.1-10 วันและกำหนดเวลา วันที่,เดือน, ปี เช่น วันที่ 1 เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2554

จากองค์การบริหารส่วนจังหวัด/เทศบาล/องค์การบริหารส่วนตำบล 7. งบประมาณ จากองค์การบริหารส่วนจังหวัด/เทศบาล/องค์การบริหารส่วนตำบล 8. ผู้รับผิดชอบ 8.1 องค์การบริหารส่วนจังหวัด/เทศบาล/องค์การบริหารส่วนตำบล 8.2 หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (สถานศึกษา/สถานีอนามัย/วัด ฯลฯ) 8.3 คณะทำงานโครงการศึกษาประวัติศาสตร์ท้องถิ่น 9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ 9.1 ส่งเสริมให้เกิดการมีส่วนร่วมในกระบวนการศึกษาประวัติศาสตร์ท้องถิ่น เพื่อการอนุรักษ์ สืบสาน และถ่ายทอดเรื่องราวต่าง ๆ ของท้องถิ่นโดยคนในท้องถิ่น 9.2 การรวบรวมและบันทึกเรื่องราวประวัติศาสตร์ท้องถิ่นการนำข้อมูลและข้อค้นพบจากการศึกษาประยุกต์หรือปรับใช้ในการเพิ่มคุณค่าและมูลค่าของสินค้าและบริการทางวัฒนธรรมของท้องถิ่น เช่น การอธิบายความหมายหรือเรื่องราวที่มาของสินค้าวัฒนธรรม การแนะนำสถานที่หรือเรื่องราวของท้องถิ่นโดยมัคคุเทศก์รุ่นเยาว์ การพัฒนาและประยุกต์ใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นในสินค้าหัตถกรรมท้องถิ่น

1.รวบรวมข้อมูลและเรื่องราวต่าง ๆ รวมทั้งหลักฐานที่เป็นโบราณสถาน โบราณวัตถุ เครื่องมือ เครื่องใช้ และอื่น ๆ เพื่ออนุรักษ์ สืบสาน และถ่ายทอดเรื่องราวต่าง ๆ ของท้องถิ่น โดยคนในท้องถิ่นจริงหรือไม่ จงอธิบาย 2.ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2540 มาตรา 289 กล่าวถึง องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นย่อมมีหน้าที่บำรุงรักษาศิลปะ จารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น หรือวัฒนธรรมอันดีของท้องถิ่น และมารา 46 กล่าวถึงบุคคลใด อย่างไรอธิบาย 3.ประเด็นหรือเนื้อหาสาระในการศึกษา เรื่องใดบ้างและมีขั้นตอนอย่างไร จงอธิบาย อ้างอิงจาก หนังสือประวัติศาสตร์ไทย ม.4 ม.5 ม.6