นำเสนองาน my mapping เรื่อง วิธีการทางประวัติศาสตร์ จัดทำโดย เรื่อง วิธีการทางประวัติศาสตร์ จัดทำโดย นางสาว จุฬาลักษณ์ เถื่อนสมบัติ ห้อง 5/2 เลขที่ 10 นำเสนอ อาจารย์ อรวรรณ กองพิลา
เรื่องวิธีการทางประวัติศาสตร์ 1.หลักการและเหตุผล การศึกษาประวัติศาสตร์ท้องถิ่นโดยคนในท้องถิ่นเป็นการศึกษาประวัติศาสตร์บอกเล่า (มุขปาฐะ) เป็นข้อมูลจากประสบการณ์ ซึ่งเป็นการแสดงการยอมรับต่อศักดิ์ศรีของคนในท้องถิ่น นอกจากนี้การศึกษาประวัติศาสตร์ท้องถิ่นช่วยสร้างกระแสเกี่ยวกับจิตสำนึกท้องถิ่นให้เกิดความรัก ความภูมิใจต่อท้องถิ่น 2. วัตถุประสงค์ 2.1 เพื่อส่งเสริมให้ชุมชนหรือท้องถิ่นได้มีการศึกษา รวบรวมข้อมูลและเรื่องราวต่าง ๆ ของท้องถิ่น 2.2 เพื่อส่งเสริมให้ชุมชนหรือท้องถิ่นนำข้อมูลหรือข้อค้นพบจากการศึกษาประวัติศาสตร์ท้องถิ่นไปปรับใช้ในการเพิ่มคุณค่าและมูลค่าของสินค้าและบริการทางวัฒนธรรมของท้องถิ่น
4. ขั้นตอนการดำเนินงาน/กิจกรรม 3. เป้าหมาย 3.1 เชิงปริมาณ 3.1.1 สนับสนุนงบประมาณโครงการศึกษาประวัติศาสตร์ท้องถิ่นไม่น้อยกว่าปีละ 1 โครงการ 3.2 เชิงคุณภาพ 3.2.1 การศึกษาประวัติศาสตร์วัฒนธรรมที่ดำเนินการ ตรวจสอบความถูกต้องและการยอมรับร่วมกันของคนในท้องถิ่น 4. ขั้นตอนการดำเนินงาน/กิจกรรม 4.1 ขั้นเตรียมการ เช่น การแต่งตั้งคณะทำงาน การพิจารณาสนับสนุนงบประมาณ และเสนอขออนุมัติโครงการฯลฯ 4.2ขั้นดำเนินการ เช่น ประสานการเปิดเวทีเพื่อสำรวจ รวบรวมและตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล การจัดกิจกรรมการศึกษาดูงาน ฯลฯ 4.3 ขั้นติดตามและสรุปผล เช่น ติดตามความก้าวหน้าการวิจัย การตรวจรับโครงการฉบับสมบูรณ์ ฯลฯ
5. ขอบเขตการศึกษา 5.1 พื้นที่การศึกษา เช่นหมู่บ้านหรือชุมชนที่อยู่ใกล้เคียงและมีประวัติศาสตร์ร่วมกันหรือมีวัฒนธรรมที่คล้ายคลึงกัน 5.2 ประเด็นหรือเนื้อหาสาระในการศึกษา เช่น 1. สภาพภูมิศาสตร์ สิ่งแวดล้อม และกลุ่มคน 2. พัฒนาการของท้องถิ่น เช่น ความเป็นมาของท้องถิ่น การตั้งถิ่นฐาน และการเปลี่ยนแปลงเหตุการณ์ที่สำคัญ ฯลฯ 3.ประเพณีและความเชื่อ เช่น ประเพณีท้องถิ่น การแต่งกาย ขนบธรรมเนียม พิธีกรรม ความเชื่อของแต่ละ 6. ระยะเวลาดำเนินการ วั 1.1-10 วันและกำหนดเวลา วันที่,เดือน, ปี เช่น วันที่ 1 เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2554
จากองค์การบริหารส่วนจังหวัด/เทศบาล/องค์การบริหารส่วนตำบล 7. งบประมาณ จากองค์การบริหารส่วนจังหวัด/เทศบาล/องค์การบริหารส่วนตำบล 8. ผู้รับผิดชอบ 8.1 องค์การบริหารส่วนจังหวัด/เทศบาล/องค์การบริหารส่วนตำบล 8.2 หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (สถานศึกษา/สถานีอนามัย/วัด ฯลฯ) 8.3 คณะทำงานโครงการศึกษาประวัติศาสตร์ท้องถิ่น 9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ 9.1 ส่งเสริมให้เกิดการมีส่วนร่วมในกระบวนการศึกษาประวัติศาสตร์ท้องถิ่น เพื่อการอนุรักษ์ สืบสาน และถ่ายทอดเรื่องราวต่าง ๆ ของท้องถิ่นโดยคนในท้องถิ่น 9.2 การรวบรวมและบันทึกเรื่องราวประวัติศาสตร์ท้องถิ่นการนำข้อมูลและข้อค้นพบจากการศึกษาประยุกต์หรือปรับใช้ในการเพิ่มคุณค่าและมูลค่าของสินค้าและบริการทางวัฒนธรรมของท้องถิ่น เช่น การอธิบายความหมายหรือเรื่องราวที่มาของสินค้าวัฒนธรรม การแนะนำสถานที่หรือเรื่องราวของท้องถิ่นโดยมัคคุเทศก์รุ่นเยาว์ การพัฒนาและประยุกต์ใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นในสินค้าหัตถกรรมท้องถิ่น
1.รวบรวมข้อมูลและเรื่องราวต่าง ๆ รวมทั้งหลักฐานที่เป็นโบราณสถาน โบราณวัตถุ เครื่องมือ เครื่องใช้ และอื่น ๆ เพื่ออนุรักษ์ สืบสาน และถ่ายทอดเรื่องราวต่าง ๆ ของท้องถิ่น โดยคนในท้องถิ่นจริงหรือไม่ จงอธิบาย 2.ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2540 มาตรา 289 กล่าวถึง องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นย่อมมีหน้าที่บำรุงรักษาศิลปะ จารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น หรือวัฒนธรรมอันดีของท้องถิ่น และมารา 46 กล่าวถึงบุคคลใด อย่างไรอธิบาย 3.ประเด็นหรือเนื้อหาสาระในการศึกษา เรื่องใดบ้างและมีขั้นตอนอย่างไร จงอธิบาย อ้างอิงจาก หนังสือประวัติศาสตร์ไทย ม.4 ม.5 ม.6