พฤติกรรมมนุษย์กับการพัฒนาตน (Humen Behavior and Self Development)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ห้อง ฉุกเฉิน ห้องฉุกเฉิน 5 : โอ๊ย..ปวดหัว แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
Advertisements

แนวคิดทางปรัชญาพื้นฐาน
บทที่ 7 ศาสนา Religion.
บทที่ 2 วัฒนธรรม CULTURE
บทที่ 4 การออกแบบ User Interface
วัดตัวแปร(ตาม)การวิจัยในชั้นเรียน
กฎหมายการแพทย์และจริยศาสตร์
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
“งานกลุ่มค้นคว้าหาความรู้”
ครูเสน่ห์ อุ่นสิม จำใจเสนอ.
เมตาคอกนิชัน(Metacognition)
การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นพื้นฐาน
หลักการพัฒนา หลักสูตร
สิ่งฟุ่มเฟือย การบริโภค สิ่งจำเป็น.
จิตวิทยาการบริหารทีมงาน
หัวใจของแผน HRD หัวใจของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
สัปดาห์ที่ 5 เรื่อง การจูงใจ.
สัปดาห์ที่ 3 เรื่อง พฤติกรรมและการเปลี่ยนแปลง
กระบวนการฝึกวิธีคิด แบบโยนิโสมนสิการ
ความหมายของการโน้มน้าวใจ
( Organization Behaviors )
พัฒนาข้าราชการบรรจุใหม่อย่างเป็นระบบ (The Civil Service Academy)
อารมณ์ (Emotion) จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
จิตวิทยา ในชีวิตประจำวัน.
เพื่อเป็นการทำความเข้าใจตนเองและผู้อื่น พื้นฐานในการสร้างมนุษยสัมพันธ์
มนุษย์ มนุษย์เป็นสัตว์สังคม มนุษย์เป็นสัตว์โลก มนุษย์เป็นสัตว์ประเสริฐ
ทฤษฎีพัฒนาการของ Piaget (Piaget’s Theory of Cognitive Development)
ในฐานะสื่อกลางของความคิด
การจัดระดับความเหมาะสมของรายการโทรทัศน์ : ทำไม อะไรอย่างไร โดยใคร ???
บุคลิกภาพและตัวตนทางสังคม Personality & Social Self
แนวคิดและทฤษฎีทางจริยธรรม
( Organization Behaviors )
ระบบความเชื่อ.
จุดมุ่งหมายการศึกษา และพฤติกรรมการศึกษา
การออกแบบการวิจัย(Research Design)
สุขภาพจิต และการปรับตัว
จิตวิทยากับองค์กรธุรกิจอุตสาหกรรม
(Organizational Behaviors)
(Individual and Organizational)
สิ่งที่จะเรียนรู้ในวันนี้
วัยรุ่นกับปัจจัยทางสังคมที่ส่งผลต่อพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ
สารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ GHUM 1103
บุคลิกภาพกับการเป็นผู้นำที่มีจิตสำนึก
การปลูกพืชผักสวนครัว
สถาบันศาสนา หมายถึง แบบแผนของความคิดการกระทำในเรื่องเกี่ยวกับ จิตใจ ความเชื่อทางสังคม ทางศาสนา และเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรม ประกอบด้วย 3 ประการ คือ.
อ่านอะไรและอ่านอย่างไรเพื่อพัฒนาตนในด้านความรู้
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
โดย ผศ.ดร.เสริมศิริ อัครพุฒิพันธ์
การรู้สัจธรรมของชีวิต
หัวข้อการเรียน สัปดาห์ที่ ๓ ENL 3701
ENL 3701 Unit 2 การอ่านคืออะไร
John Dewey Learning by Doing โดย...นางดารุณี ประพันธ์
ทิศทางใหม่ของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
อริยสัจ 4.
บทที่ 2 หลักการดำเนินงานอุตสาหกรรมเกษตร
Child Study Why…….? 1 ทำให้เราได้ตระหนักถึง ความเป็นปัจเจกภาพของเด็ก แต่ละคนมากขึ้น 2. เปิดโอกาสให้เรามองเห็น ของขวัญที่เด็กนำมาจากโลก จิตวิญญาณ ( เด็กทุกคนนำ.
เครื่องมือที่ใช้ในการวัดผลการศึกษา
การสื่อสารด้วยใจคลายวิกฤต
ทุกข์ - ธรรมที่ควรรู้ ความไม่สบายกาย ไม่สบายใจ ความเศร้าโศกเสียใจ หรือสภาพที่มนุษย์ทนอยู่ได้อยาก เป็นสภาวะทางธรรมชาติที่ควรกำหนดรู้ หัวข้อธรรมที่สนับสนุนในการศึกษา.
ทฤษฎีการเรียนรู้เน้นการรับรู้และเชื่อมโยงความคิด
ปัญหาจริยธรรมในทางธุรกิจ
ทฤษฎีการให้คำปรึกษาเชิงจิตวิเคราะห์Psychoanalysis
อาหารใน ชีวิตประจำวัน
พฤติกรรมผู้ซื้อองค์การ
หัวข้อการเรียน สัปดาห์ที่ ๔ ENL 3701
พุทธปรัชญา ความเป็นมา พุทธศาสนาเป็นศาสนาประจำชาติ
Theories of Innovation and Information Technology for Learning
ประเภทของพฤติกรรม 1.เกณฑ์ “สังเกต” พฤติกรรมภายนอก (OVERT BEHAVIOR)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจิตวิทยา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

พฤติกรรมมนุษย์กับการพัฒนาตน (Humen Behavior and Self Development) วชิระ พิมพ์ทอง

บทที่ 1 ความเข้าใจเกี่ยวกับพฤติกรรมมนุษย์ องค์ประกอบความเป็นมนุษย์ตามหลักปรัชญา 1.ลัทธิทวินิยม (dualism) 1.1 ลัทธิปฏิสัมพันธ์ (interactionism) 1.2 ลัทธิคู่ขนาน (psychophysical parallelism) 1.3 ลัทธิผลพลอยได้ (epiphenomenalism) 1.2 ลัทธิเอกนิยม (monism)

องค์ประกอบของมนุษย์ตามหลักพระพุทธศาสนา 1. รูป 2. เวทนา 3. สัญญา 4. สังขาร 5. วิญญาณ

จิตและกระบวนการทำงานของจิต สิ่งเร้า ประสาทสัมผัส ระบบประสาทในสมอง การรับรู้ การคิด อารมณ์ ปฏิกิริยาโต้ตอบ

ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อกระบวนการทำงานของจิต 1. อวัยวะรับสัมผัสทั้ง 5 2. ระบบประสาทต่างๆ 3. สิ่งเร้า 4. ประสบการณ์เดิม 5. ความใส่ใจในการรับรู้ 6. ความสามารถในการคิดและการรับรู้

1. พฤติกรรมภายนอก (overt behavior) พฤติกรรมมนุษย์ ที่มาพฤติกรรมมนุษย์ 1. พฤติกรรมในอำนาจจิต 2. พฤติกรรมนอกอำนาจจิต 3. พฤติกรรมรีเฟลกซ์ (reflex) ประเภทของพฤติกรรม 1. พฤติกรรมภายนอก (overt behavior) 1.1 พฤติกรรมโมลาร์ (malar behavior) 1.2 พฤติกรรมโมเลกุล (molecular behavior) 2. พฤติกรรมภายใน (covert behavior)

ความสัมพันธ์ระหว่างจิตและพฤติกรรม 1. สมอง 2. อวัยวะรับความรู้สึก 3. เส้นประสาท วิธีการศึกษาพฤติกรรม 1. การรายงานตนเอง การสังเกต การทดสอบ การทดลอง

แนวคิดของนักจิตวิทยากลุ่มต่างๆ ในการศึกษาพฤติกรรม 1. กลุ่มชีวภาพ (biological model) 2. กลุ่มจิตวิเคราะห์ (psychoanalysis) ผู้นำกลุ่ม คือ Singmund Freud 3.กลุ่มพฤติกรรมนิยม(behaviorism) ผู้นำกลุ่ม คือ John B. Watson, Skinner ไม่ใช่ Introspection 4. กลุ่มปัญญานิยม (cognitivism) ผู้นำกลุ่ม คือ Max Wertheimer 5. กลุ่มมนุษย์นิยม (humanism) ผู้นำกลุ่ม คือ Carl Rogers, Maslow