พฤติกรรมมนุษย์กับการพัฒนาตน (Humen Behavior and Self Development) วชิระ พิมพ์ทอง
บทที่ 1 ความเข้าใจเกี่ยวกับพฤติกรรมมนุษย์ องค์ประกอบความเป็นมนุษย์ตามหลักปรัชญา 1.ลัทธิทวินิยม (dualism) 1.1 ลัทธิปฏิสัมพันธ์ (interactionism) 1.2 ลัทธิคู่ขนาน (psychophysical parallelism) 1.3 ลัทธิผลพลอยได้ (epiphenomenalism) 1.2 ลัทธิเอกนิยม (monism)
องค์ประกอบของมนุษย์ตามหลักพระพุทธศาสนา 1. รูป 2. เวทนา 3. สัญญา 4. สังขาร 5. วิญญาณ
จิตและกระบวนการทำงานของจิต สิ่งเร้า ประสาทสัมผัส ระบบประสาทในสมอง การรับรู้ การคิด อารมณ์ ปฏิกิริยาโต้ตอบ
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อกระบวนการทำงานของจิต 1. อวัยวะรับสัมผัสทั้ง 5 2. ระบบประสาทต่างๆ 3. สิ่งเร้า 4. ประสบการณ์เดิม 5. ความใส่ใจในการรับรู้ 6. ความสามารถในการคิดและการรับรู้
1. พฤติกรรมภายนอก (overt behavior) พฤติกรรมมนุษย์ ที่มาพฤติกรรมมนุษย์ 1. พฤติกรรมในอำนาจจิต 2. พฤติกรรมนอกอำนาจจิต 3. พฤติกรรมรีเฟลกซ์ (reflex) ประเภทของพฤติกรรม 1. พฤติกรรมภายนอก (overt behavior) 1.1 พฤติกรรมโมลาร์ (malar behavior) 1.2 พฤติกรรมโมเลกุล (molecular behavior) 2. พฤติกรรมภายใน (covert behavior)
ความสัมพันธ์ระหว่างจิตและพฤติกรรม 1. สมอง 2. อวัยวะรับความรู้สึก 3. เส้นประสาท วิธีการศึกษาพฤติกรรม 1. การรายงานตนเอง การสังเกต การทดสอบ การทดลอง
แนวคิดของนักจิตวิทยากลุ่มต่างๆ ในการศึกษาพฤติกรรม 1. กลุ่มชีวภาพ (biological model) 2. กลุ่มจิตวิเคราะห์ (psychoanalysis) ผู้นำกลุ่ม คือ Singmund Freud 3.กลุ่มพฤติกรรมนิยม(behaviorism) ผู้นำกลุ่ม คือ John B. Watson, Skinner ไม่ใช่ Introspection 4. กลุ่มปัญญานิยม (cognitivism) ผู้นำกลุ่ม คือ Max Wertheimer 5. กลุ่มมนุษย์นิยม (humanism) ผู้นำกลุ่ม คือ Carl Rogers, Maslow