ประกาศหลักเกณฑ์การบริหารกองทุนฯปี ๒๕๕๗

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2556 งบค่าเสื่อม
Advertisements

การจัดสรรเงินเหมาจ่ายรายหัว สำหรับหน่วยบริการในสังกัด สป.สธ. 2556
สำนักบริหารการจัดสรรกองทุน
การบริหารงบค่าเสื่อม 2557
งบกองทุนทันตกรรม ปีงบประมาณ 2554
วาระที่ 4.1 องค์ประกอบคณะกรรมการ/คณะทำงาน ภายใต้อปสข.
กรกฎาคม 2556 สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
Research Mapping.
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
ทพ.สันติ ศิริวัฒนไพศาล 21 กันยายน 2555
แนวทางการดำเนินงานในการคืนสิทธิขั้นพื้นฐาน
นโยบายการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อขับเคลื่อนการคลังภาคสุขภาพ
เป้าหมายการให้บริการและยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข
การบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคทั่วไป (ยกเว้นค่าบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน)
ประชุมกรรมการบริหารศูนย์
การบริหารกองทุนสุขภาพตำบล
การวิเคราะห์แผนงบลงทุน ปี 2552 และแผนยุทธศาสตร์งบลงทุน ปี
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE ปีงบประมาณ 2555 ชี้แจงงบตามเกณฑ์ศักยภาพบริการ ปฐมภูมิ (On top payment) ปีงบประมาณ 2555.
๑. อำนาจหน้าที่ของ อปท. ๒. หน่วยงานต่าง ๆ ได้ขอรับการสนับสนุน จาก อปท
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
นพ. จักรกริช โง้วศิริ ผจก. กองทุนสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
๒๕ ธ.ค. ๒๕๕๑ ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ
สรุปแนวทาง การระดมความคิดเห็น กลุ่มย่อยที่ 4
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
“การดำเนินงานเพื่อเพิ่มคุณภาพและประสิทธิภาพ ของกระทรวงสาธารณสุข”
แพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
การจัดทำหรือการอนุมัติ แผนงานหรือโครงการ โดยไม่เป็นไปตามวัตถุประสงค์
งานทันตสาธารณสุข ในหน่วยบริการปฐมภูมิ
กองทุนสมทบ ค่าบริการการแพทย์แผนไทย
พี่เลี้ยงการพัฒนา หน่วยบริการปฐมภูมิ
ค่าบริการแพทย์แผนไทยปีงบ 2556
การบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติปีงบประมาณ 2557 “ประเด็นที่แตกต่างจากปีงบประมาณ 2556” โดย นพ.สุธนะ เสตวรรณา รองผู้อำนวยการสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติเขต.
ทิศทางการจัดสรร งบกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ประจำปี 2551
มุมมองการพัฒนาและขับเคลื่อน งานกองทุนฯอย่างยั่งยืน
บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
เงินค่าเสื่อม (A) ภาครัฐ (B) ภาคเอกชน (A1)
หลักการ วิเคราะห์ คำนวณภาระงาน และคำนวณ FTE ของบุคลากรแต่ละกลุ่ม
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
การบริหารงบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ ปี 2557
การบริหารงบค่าเสื่อม ในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ปีงบประมาณ 2555
หลักเกณฑ์การจัดสรร งบสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปี 2557
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
มาตรการเร่งรัดติดตาม การใช้จ่ายเงินปีงบประมาณ พ.ศ.2557
National Health Security Office 1. Subject : งบกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ถึงปี 2554 จะประกอบด้วย 5 กองทุนย่อย 1.งบบริการทางการแพทย์ (งบเหมาจ่ายรายหัว)
เทศบาลตำบลบัลลังก์ จดหมายข่าว ระเบียบกองทุนหลักประกันสุขภาพ
กรอบแนวคิด หลักการ กฎหมาย คุ้มครองผู้เสียหายจากบริการ สาธารณสุข เครือข่ายผู้เสียหายทางการแพทย์ เครือข่ายศูนย์ประสานงานหลักประกันสุขภาพ ภาค ประชาชน มูลนิธิเพื่อผู้บริโภค.
กรอบการบริหารงบบริการ การแพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2558
หลักในการทำงานของ ปลัดกระทรวง สาธารณสุข นายแพทย์ณรงค์ สห เมธาพัฒน์
การบริหารงบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์ ปีงบประมาณ 2557
แนวทางการดำเนินงาน แผนงานสนับสนุนระบบบริการโรคไตวาย ปีงบประมาณ 2558
M&E M&E by..nuntana Claim Claim.
วาระประชุม กวป. งานแพทย์แผนไทย 2 ธ.ค โดย วัชรี แก้วสา
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารจัดการ Asthma & COPD 1.
แนวทางการจัดสรร งบค่าบริการแพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2558
ข้อมูลสารสนเทศและ การบริหารจัดการงบ P&P
แนวทางปฏิบัติในการขอรับค่าใช้จ่าย เพื่อบริการสาธารณสุข ปี 2551 ปี 2551 เอกสารหมายเลข 1.
แนวทางการบริหารงบค่าบริการ แพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2556 สมชาย ชินวา นิชย์เจริญ.
28 กุมภาพันธ์ 2556 สปสช. เขต 8 อุดรธานี. 2. งบสนับสนุนและ ส่งเสริมการจัดบริการ 0.35 บาท / ปชก. สิทธิ UC 1,342,755 บาท 2. งบสนับสนุนและ ส่งเสริมการจัดบริการ.
เกณฑ์การจัดสรร งบค่าบริการการแพทย์แผนไทย ปี 2555
ผลงานการพัฒนาระบบข้อมูล บริการผู้ป่วยนอก และสร้าง เสริมสุขภาพป้องกันโรค OP/PP Individual Data ปี 2556.
1 การเบิกจ่ายค่าชดเชยบริการ ปรับเปลี่ยน พฤติกรรมเสี่ยงต่อภาวะโรคเม ตาบอลิก ปีงบประมาณ 2553 พื้นที่กรุงเทพมหานคร.
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2555 เสนอในการประชุมชี้แจงจังหวัด ระหว่างวันที่ 5-6 ตุลาคม.
เรียนรู้ระบบหลักประกันสุขภาพ
มติคณะอนุกรรมการบริหารงานหลักประกันสุขภาพ จังหวัดปทุมธานี ครั้งที่ 1/2557 วันที่ 15 มกราคม 2557 เรื่อง การบริหารจัดการงบ OP / PP Basic Service จากหน่วยบริหารประจำ.
รางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ (Thailand Public Service Awards)
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
หลักเกณฑ์การรับ-จ่าย-การจัดทำบัญชี
ประเด็นการตรวจราชการที่ ๕ : ประสิทธิภาพของการ บริหารการเงินการคลัง 2 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด พัทลุง ตัวชี้วัด : ประสิทธิภาพของการบริหารการเงินสามารถ.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

คณะอนุกรรมการหลักประกันสุขภาพเขตพื้นที่ การบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติปี ๒๕๕๗

ประกาศหลักเกณฑ์การบริหารกองทุนฯปี ๒๕๕๗

หลักเกณฑ์และแนวทาง บริหารจัดการกองทุน ปีงบประมาณ 2557 ในวงเงินระดับเขต เพื่อเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารเงินกองทุน เพื่อสนับสนุนให้ประชาชนเข้าถึงบริการที่จำเป็นภายในเขตพื้นที่ กระจายอำนาจให้มีการบริหารจัดการ โดยกลไกภายใต้คณะอนุกรรมการหลักประกันสุขภาพระดับเขต (อปสข.) จัดสรรเป็นวงเงินแบบมีเพดานระดับเขตตามเขตพื้นที่ความรับผิดชอบของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติระดับเขต (global budget ระดับเขต)

สรุปวงเงินแบบมีเพดานระดับเขตพื้นที่

รายการ วงเงินระดับเขต แนวทางบริหารจัดการ 1.บริการผู้ป่วยนอกทั่วไป 1.1 จ่ายแบบเหมาจ่ายต่อผู้มีสิทธิ สปสช.เขต 13 ให้กำหนดแนวทางเป็นอย่างอื่นได้อย่างน้อยต้องเป็นไปตามเงื่อนไขและได้ข้อมูลตามที่กำหนด โดยแนวทางต้องผ่านความเห็นชอบจาก อปสข. (ข้อ 9.3) 1.2 จ่ายตามผลงานบริการ สปสช.เขต 13 ให้กำหนดแนวทางเป็นอย่างอื่นได้อย่างน้อยต้องเป็นไปตามเงื่อนไขและได้ข้อมูลตามที่กำหนด โดยแนวทางต้องผ่านความเห็นชอบจาก อปสข. (ข้อ 10.2) 1.3 จ่ายตามเกณฑ์คุณภาพและผลงานบริการปฐมภูมิ ไม่น้อยกว่า 32 บาทต่อผู้มีสิทธิ - Global budget ระดับเขตตามจำนวนผู้มีสิทธิที่ลงทะเบียน และบูรณาการการบริหารจัดการรวมกับงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคสำหรับบริการพื้นฐานที่จ่ายตามเกณฑ์คุณภาพ โดยแนวทางต้องผ่านความเห็นชอบจาก อปสข. (ข้อ 11.1) จำนวน 4 บาทต่อผู้มีสิทธิ (Global Budget) เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและพัฒนาศักยภาพการจัดบริการปฐมภูมิ สามารถบูรณาการกับงบสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการของงบค่าบริการอื่นได้ ตามแนวทางและแผนงานที่ อปสข.เห็นชอบ

รายการ วงเงินระดับเขต แนวทางบริหารจัดการ 2. บริการผู้ป่วยในทั่วไป บริหารระดับเขต โดยจัดสรรเงินเป็น Global budget ระดับเขต (ข้อ 14) ไม่เกิน 20 บาทต่อผู้มีสิทธิ - ให้กันเงินไว้เพื่อจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพผลงานบริการ โดยให้ อปสข.พิจารณาแนวทางการจ่ายตามข้อเสนอของ สปสช.เขต และที่เหลือให้จ่ายด้วยระบบ DRG version 5 ยกเว้นกรณีการรักษานิ่วด้วยเครื่องสลายนิ่ว (ข้อ 15.1) - การใช้บริการภายในเขต ให้อัตราจ่ายต่อ adjRW เป็นอัตราเดียวในแต่ละ Global budget ระดับเขต และสามารถกำหนดอัตราจ่ายเป็นอย่างอื่นเพื่อจูงใจให้มีการพัฒนาระบบบริการภายในเขต แต่ต้องไม่เกิน 9,600 บาทต่อ adjRW โดยผ่านความเห็นชอบของ อปสข. (ข้อ 15.3.4) - การจ่ายให้หน่วยบริการ สปสช.เขต สามารถกำหนดอัตราจ่ายต่อ adjRW เบื้องต้นที่อัตราหนึ่ง โดยผ่านความเห็นชอบจาก อปสข. (ข้อ 15.4.1) - กรณีจ่ายปิด Global budget ระดับเขตแล้วหากมีเงินเหลือให้ อปสข. พิจารณาส่วนที่เหลือให้หน่วยบริการเป็นค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุขต่างๆ ได้ (ข้อ 15.4.2 (3))

รายการ วงเงินระดับเขต แนวทางบริหารจัดการ 3. บริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค 3.1 บริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคสำหรับบริการระดับพื้นที่ (P&P area health services) ส่วนที่เหลือจากจัดสรรให้กองทุนฯ ระดับท้องถิ่น - จัดสรรเป็น Global budget ระดับเขตตามจำนวนประชากรไทยในพื้นที่รับผิดชอบ เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายบริการ P&P ที่เป็นปัญหาเฉพาะพื้นที่หรือตามนโยบายสำคัญ บริการที่ต้องบริหารจัดการในภาพรวมระดับเขตหรือจังหวัด การตามจ่ายค่าบริการแทนหน่วยบริการ โดยแนวทางการจ่ายต้องผ่านความเห็นชอบจาก อปสข. (ข้อ 27.2) 3.2 บริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคสำหรับบริการพื้นฐาน (P&P basic services) 20 บาทต่อคน - บูรณาการการบริหารจัดการที่ระดับเขตรวมกับงบจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพและผลงานบริการปฐมภูมิ ในข้อ 11.1 (ข้อ 28.3) - สปสช.เขต 13 ให้สามารถบูรณาการงบ P&P area health services และ P&P basic services และกำหนดหลักเกณฑ์การจ่ายเป็นอย่างอื่นได้ โดยต้องผ่านความเห็นชอบของ อปสข. (ข้อ 30)

รายการ วงเงินระดับเขต แนวทางบริหารจัดการ 3. บริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค 3.3 สนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ไม่น้อยกว่า 6 บาทต่อประชากรไทยทุกคน - จัดสรรเป็น global budget บริหารจัดการระดับเขต สปสช.เขตกำหนดเงื่อนไข หลักเกณฑ์และวิธีการจ่ายโดยผ่านความเห็นชอบจาก อปสข.

รายการ วงเงินระดับเขต แนวทางบริหารจัดการ 4. บริการการแพทย์แผนไทย 4.1 งบค่าบริการเพิ่มเติม ไม่น้อยกว่า 6.79 บาทต่อผู้มีสิทธิ - สปสช.เขต สามารถเพิ่มเติมเกณฑ์ระดับพื้นที่ได้ในการจ่ายค่าใช้จ่ายให้หน่วยบริการตามความเห็นชอบจาก อปสข. - บริหารจัดการเป็นระดับเขต โดยจัดสรรเงินเป็น Global budget ระดับเขตตามจำนวนผู้มีสิทธิและผลงานบริการในปีที่ผ่านมา ในสัดส่วน 50:50 และแนวทางการจ่ายต้องผ่านความเห็นชอบจาก อปสข. (ข้อ 38.1.1)

จบการนำเสนอ ขอบคุณ