(FUNGUS-FARMING INSECTS)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สาระเทคการงานอาชีพและเทคโนโลยี ช่วงชั้นที่ ๑
Advertisements

ศูนย์วิจัยควบคุมศัตรูพืช โดยชีวินทรีย์แห่งชาติภาคใต้
ชนิดของปลวกที่เข้าทำลายต้นยางพาราและการจัดการ
พฤติกรรมการถ่ายทอดลูกหลานของแมลง Brood Producing Behaviors in Insects
Cryptoleamus montrouzieri
Fungi on Lizard : a Hazard in Your Home
การควบคุมปลวกโดยชีววิธีด้วยการใช้เชื้อราเขียว Metarhizium anisopliae Metschnikoff Biological Control of Termites by Using the Green Muscardine Fungus.
การดึงดูดเพลี้ยไฟของกับดักกาวเหนียวสี Attractiveness of thrips to colored sticky trap NR.
A wonderful of Bioluminescence
พฤติกรรมการวางไข่ของแมลงวันผลไม้ :Bactrocera dorsalis
รูปร่างลักษณะและชีวประวัติของยุง
ผลต่อการดูดเลือดและการไล่ยุงของ สารสกัดเมล็ดสะเดา
การมีชีวิตอยู่รอดและการก่อโรคของRhizoctonia solani (Khun)ใน ปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพ Survival and Pathogenicity of Rhizoctonia solani(Khun) in Bio-Extract Fertilizer.
สัมมนา ผลกระทบของสารฆ่าแมลงต่อศัตรูธรรมชาติ
อิทธิพลของสภาวะโลกร้อนที่ส่งผลต่อ แมลงศัตรูพืช
แมลงศัตรูไม้สัก Insect Pest of Teak Trees
ปุ๋ยหมักชีวภาพ Effective Microorganisms
มวนแดงนุ่น Kapok bug Odontopus nigricornis Stal
บทที่ 3 ทรัพยากรดิน.
ความสำคัญของพืชและอนาจักรพืช
การวางแผนและการดำเนินงานส่งเสริม
การปรับปรุงพันธุ์พืชเพื่อต้านทานโรคและแมลง
การดูแลสวน (Garden Maintenance)
คุณค่าทางอาหารสัตว์ของหญ้าแฝก
วิกฤตการณ์ทรัพยากรป่าไม้ในประเทศไทย
เทคโนโลยีชีวภาพ เสาวลักษ์ สารรัมย์.
เทคโนโลยีชีวภาพ แก๊สชีวภาพ นำเสนอโดย 1. นายทรงศักดิ์ ศรีสันติสุข 2
เทคโนโลยีปุ๋ย ปุ๋ย หมายถึง สารหรือสิ่งซึ่งเราใส่ลงไปในดิน เพื่อวัตถุประสงค์ให้ปลดปล่อยธาตุอาหารพืชโดยเฉพาไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม พืชสามารถเจริญเติบโตงอกงามดีและให้ผลิตผลสูงขึ้น.
ส่วนที่ใช้ประโยชน์หลัก – ผล เพื่อการบริโภค
การอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมในการผลิตพืช
โรคขาดอาหารและ/ พยาธิ
การล้างตลาดตามหลักสุขาภิบาล
การสำรวจผีเสื้อกลางวัน
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
และคุณงามความดีของข้าราชการพลเรือนสามัญ
การเตรียมชุมชน ก่อนพ่นสารเคมี
เรื่อง สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
หลักการสำคัญของเกษตรอินทรีย์
องค์ความรู้น้ำส้มควันไม้ สายด่วนข้อมูลปฏิรูปที่ดิน
การทำธุรกิจแบบยั่งยืน การตลาดแบบแม่ไก่อารมณ์ดี
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
วัชพืชที่สำคัญในนาข้าว และการป้องกันกำจัด
องค์ความรู้ เรื่อง การปลูกถั่วฝักยาว
การใช้สารเคมี สมาคมอารักขาพืชไทย ได้ถือกำเนิดขึ้นเมื่อปี พ.ศ ใช้ชื่อในขณะนั้นว่า “ สมาคม ผู้ประกอบธุรกิจสารเคมีกำจัดศัตรูพืช : ส.ธ.ก. ( Thai Pesticide.
สุริชาติ สมวัฒนศักดิ์ นักวิชาการเกษตรชำนาญการพิเศษ ยอดธงไชย รอดแก้ว
ขั้นตอนการผลิตเชื้อราไตรโคเดอร์ม่า ในข้าวสุก
นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ ศูนย์บริหารศัตรูพืช จังหวัดชัยนาท
โรครากเน่าโคนเน่าส้ม
ข้อควรระวัง ! ในการผลิตเชื้อราไตรโคเดอร์มาชนิดสด
ศูนย์บริหารศัตรูพืชจังหวัดสงขลา กรมส่งเสริมการเกษตร
การผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัย (พืชผัก)
งานวิจัยของภาควิชากีฏวิทยา
พืชแต่งพันธุ์ต้านทานแมลง
การสำรวจติดตามสถานการณ์ศัตรูพืช
ศูนย์บริหารศัตรูพืช จังหวัดขอนแก่น
บริการตรวจวินิจฉัยศัตรูพืช
( Natural farming) เกษตรธรรมชาติ.
มาตรฐานสินค้าเกษตร “ลำไย”
ปัญหาสิ่งแวดล้อม.
การบริหารจัดการศัตรูพืชที่สำคัญ โดย
การจัดการสวนปาล์มน้ำมัน
หลักการและเหตุผล. - ปี หนอนกออ้อยระบาดขยาย
นายแพทย์ประดิษฐ์ วินิจจะกูล รองอธิบดีกรมอนามัย
สถานที่ปรุง ประกอบ จำหน่ายอาหาร
จัดทำโดย เด็กหญิง นันท์นภัส ขะชาติ ชั้น ม.1/13 เลขที่ 24
แมลงสังคม แมลงชนิดเดียวกันมีการอาศัยในรังเดียวกัน
การเจริญเติบโตของพืช
เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล(Brown planthopper)
นางสาวธัญชนก นาคพล ภาควิชา พัฒนาการเกษตร.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

(FUNGUS-FARMING INSECTS) แมลงทำฟาร์มเห็ดรา (FUNGUS-FARMING INSECTS)

แมลงทำฟาร์มเลี้ยงเห็ดรา (Fungus-Farming Insects) แมลงทำฟาร์มเลี้ยงเห็ดรา คือ แมลงที่มีความ สามารถในการเพาะเลี้ยงเห็ดราไว้ภายในรังเพื่อเป็นอาหาร แมลงในกลุ่มนี้ประกอบด้วย ปลวก (Termites) มด (Ants) ด้วงปีกแข็ง (Beetles)

Termite Fungiculture: ปลวกเพาะเลี้ยงเห็ดรา ลักษณะโดยทั่วไปของปลวกเพาะเลี้ยงเห็ดรา ปลวกเป็นแมลงสังคม (social insects) แบ่งออกเป็นวรรณะต่างๆดังนี้ ปลวกราชินี (queen) ปลวกราชา (king) ปลวกทหาร (soldier) ปลวกงาน (worker)

ความสัมพันธ์ระหว่างปลวกและเห็ดรา Mueller et al. (2002) รายงานว่า ปลวกอยู่ร่วมกับเห็ดราโดยต่างฝ่ายต่างได้รับประโยชน์ (symbiosis) ปลวกมีการเพาะเลี้ยงเห็ดรามาเป็นเวลากว่า 24-34 ล้านปีมาแล้ว มีปลวกประมาณ 330 ชนิด ที่เพาะเลี้ยงเห็ดราไว้เป็นอาหาร จัดอยู่ในวงศ์ย่อย Macrotermitinae ปลวกเพาะเลี้ยงราในสกุล Termitomyces

วิธีการเลี้ยงเห็ดราของปลวก ปลวกสร้างรวงรัง(comb)ขึ้นภายในจอมปลวก ฆ่าเชื้อเศษไม้ (substrate) โดยผ่านเข้าไปในลำไส้ของปลวก นำสปอร์ของเชื้อราที่อยู่ใน fecal pellets ใส่เข้าไปในรวงรังที่มี substrate อยู่

วิธีการเลี้ยงเห็ดราของปลวก (ต่อ) เส้นใยของเชื้อราเจริญไปบนอาหารอย่างรวดเร็ว 2-3 สัปดาห์ เชื้อราเริ่มสร้าง vegetative nodules ปลวกนำ vegetative nodules ไปเป็นอาหาร

รูปที่ 1 แสดงสวนเห็ดราของปลวก สวนเห็ดราของปลวกMacrotermes bellicosus รูปที่ 1 แสดงสวนเห็ดราของปลวก ที่มา: Duur K. Aanen. (2007) รูปที่ 2 แสดงสวนเห็ดราของปลวก ที่มา: Mueller et al. (2005)

เห็ดในสกุล Termitomyces รูปที่3 แสดงเห็ดโคนที่เจริญออกมาจากรังปลวก ที่มา: nedoko.sakura.ne.jp/.../cylindricus.htm (2005)

ประโยชน์ที่ปลวกและเห็ดราได้รับ ปลวกใช้เห็ดราที่เลี้ยงไว้เป็นอาหาร เห็ดราได้รับการดูแล ปกป้องให้ปลอดภัยจากการ เข้าทำลายของไร ไส้เดือนฝอย และเชื้อราชนิดอื่นๆ ปลวกช่วยในการแพร่กระจายและการสืบพันธุ์ ของเชื้อรา

Ant Fungiculture: มดเพาะเลี้ยงเห็ดรา ลักษณะโดยทั่วไปของมดเพาะเลี้ยงเห็ดรา เป็นแมลงสังคม อาศัยอยู่รวมกันเป็นกลุ่ม (colony) แบ่งออกเป็นวรรณะต่างๆดังนี้ มดราชินี (queen) มดราชา (king) มดทหาร (intermediate caste) มดงาน (worker)

ความสัมพันธ์ระหว่างมดและเห็ดรา Kumar et al. (2006) รายงานว่า มดมีการเพาะเลี้ยงเห็ดรา มาเป็นเวลากว่า 50-60 ล้านปีมาแล้ว มีมดประมาณ 220 ชนิด ที่เพาะเลี้ยงเห็ดราไว้เป็นอาหาร จัดอยู่ในวงศ์ย่อย Myrmicinae เป็นมดในกลุ่ม attini มดเพาะเลี้ยงราในวงศ์ Lepiotaceae และPterulaceae

วิธีการเลี้ยงเห็ดราของมด มดงานสร้างห้อง(chamber)สำหรับเพาะเลี้ยงเห็ด ฆ่าเชื้อเศษใบไม้ หรือใบไม้สดโดยการทำความสะอาดบริเวณผิวหน้า มดราชินีใช้เชื้อราที่นำมาจากรังเก่า เพาะลงไปบนอาหาร

วิธีการเลี้ยงเห็ดราของมด (ต่อ) เส้นใยของเชื้อราเจริญ และสร้างสารอาหารที่มีคุณค่า เรียกว่า gonglidia มดนำเส้นใยไปเป็นอาหาร

สวนเห็ดราของมด รูปที่ 5 แสดงสวนเห็ดราของมด รูปที่ 4 แสดงสวนเห็ดราของมด Mycetosoritis hartmanni ที่มา: Alex Wild (2004) รูปที่ 4 แสดงสวนเห็ดราของมด Acromyrmex versicolor ที่มา: Alex Wild (2004)

ลักษณะของเห็ดในวงศ์Lepiotaceae และPterulaceae รูปที่ 6 แสดงตัวอย่างเห็ด Lepiota clypeolaria ที่มา: www1.appstate.edu (2000) รูปที่ 7 แสดงตัวอย่างเห็ด Pterula verticillata ที่มา: www.hiddenforest.co (2006)

ประโยชน์ที่มดและเห็ดราได้รับ มดใช้เห็ดราเป็นแหล่งอาหารของ ตัวอ่อนและตัวเต็มวัย เห็ดราจะได้รับการปกป้องดูแลให้ปลอดภัยจาก การเข้าทำลายของสัตว์ และเชื้อราชนิดอื่น มดช่วยในการแพร่กระจายและการสืบพันธุ์ ของเชื้อรา

Beetle Fungiculture: ด้วงเพาะเลี้ยงเห็ดรา ลักษณะโดยทั่วไปของด้วงเพาะเลี้ยงเห็ดรา Horton และ Ellis (1997)รายงานว่า ด้วงเพาะเลี้ยงเห็ดรา เป็นด้วงปีกแข็งที่อาศัยอยู่ในเนื้อไม้ เรียกด้วงในกลุ่มนี้ว่า “ambrosia beetle” ด้วงเพศเมียจะมีบทบาทหน้าที่มากกว่าด้วงเพศผู้

ความสัมพันธ์ระหว่างด้วงและเห็ดรา Mueller et al. (2005) ด้วงมีการเพาะเลี้ยงเห็ดรา มาเป็นเวลากว่า 30-40 ล้านปีมาแล้ว มีด้วงที่เพาะเลี้ยงเห็ดราไว้เป็นอาหารประมาณ 3400ชนิด จัดอยู่ในวงศ์ย่อย Scolytinae และ Platypodinae ด้วงเพาะเลี้ยงราในสกุล Ophiostoma และ Ceratocystis

วิธีการเลี้ยงเห็ดราของด้วง ด้วงเพศเมียขุดเจาะเข้าไปในเนื้อไม้ เพื่อสร้างที่อยู่และห้อง (gallery) เลี้ยงเห็ดรา เพาะปลูกเชื้อราลงบนผนัง gallery เส้นใยของเชื้อราเจริญบนเนื้อเยื่อของต้นไม้ ด้วงนำเส้นใยของเห็ดรามาเป็นอาหาร

ลักษณะgalleryของambrosia beetle รูปที่ 8 แสดงด้วงเพศเมียอยู่ภายใน เนื้อไม้ ที่มา: www.biltek.tubitak.govr (1999) รูปที่ 9 แสดงไข่และตัวอ่อนของด้วงกับ เส้นใยของเชื้อรา ที่มา: www.ag.auburn.edu (2008)

ลักษณะของเชื้อราในสกุล Ophiostoma และ Ceratocystis รูปที่ 10 Ophiostoma spp ที่มา: www.biltek.tubitak.govr (1999) รูปที่ 11 Ceratocystis spp. ที่มา: www.ipla.org (2006)

ประโยชน์ที่ด้วงและเห็ดราได้รับ ด้วงใช้เห็ดราเป็นแหล่งอาหารที่สำคัญ ของตัวอ่อน และตัวเต็มวัย เห็ดราจะได้รับการปกป้องดูแลให้ปลอดภัยจาก การเข้าทำลายของเชื้อชนิดอื่น ด้วงช่วยในการแพร่กระจายและการสืบพันธุ์ ของเชื้อรา

พฤติกรรมในการทำเกษตรกรรม ตารางที่ 1 เปรียบเทียบพฤติกรรมในการทำการเกษตรของมด ปลวก ด้วง และมนุษย์ พฤติกรรมในการทำเกษตรกรรม การเปรียบเทียบ มดทำฟาร์มเห็ดรา ปลวกทำฟาร์มเห็ดรา ด้วงทำฟาร์มเห็ดรา มนุษย์ทำการเกษตร 1.ลักษณะการพึ่งพาพืชปลูก obligate facultative 2.การจัดการสภาพสวนให้เหมาะกับพืชปลูก(เช่น การเตรียมอาหาร การควบคุมความชื้น) มี 3.การปรับปรุงพื้นที่ปลูก 4.ติดตามการเติบโตของพืชและการเกิดโรคอย่างต่อเนื่อง ไม่มี 5.ปกป้องพืชปลูกจากโรคและสัตว์อื่น 6.การกำจัดวัชพืช ไม่มีข้อมูล 7.การใช้สารเคมีในการควบคุมศัตรูพืช 8.การใช้disease-suppressant microbesในการควบคุมศัตรูพืช 9.การคัดเลือกปรับปรุงพันธุ์พืช ที่มา: Mueller et al. (2005)

สรุป แมลงทั้ง 3 กลุ่ม มีวัตถุประสงค์ในการทำฟาร์มเลี้ยงเห็ดราเหมือนกัน คือ เพาะเลี้ยงเชื้อราไว้เป็นอาหารของสมาชิกภายในรัง เห็ดราได้รับการเลี้ยงดู ตลอดจนปกป้อง ดูแลจากแมลง การอยู่ร่วมกันระหว่างแมลงและรา เป็นระบบนิเวศหนึ่งที่สำคัญของโลก จึงควรให้ความสำคัญและมีการศึกษาต่อไป

จัดทำโดย นางสาวพูนสุข จันทรภักดี รหัสนักศึกษา 4740164 อาจารย์ที่ปรึกษา รศ.ดร.วสันณ์ เพชรรัตน์ ภาควิชาการจัดการศัตรูพืช คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา 90112 โทร. 074-286101-2