การพัฒนาคุณภาพงานวิจัยของ ภาควิชาตามเกณฑ์ สกว. จาก ผลการประเมินภาควิชาฯ ภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะ แพทยศาสตร์ 30 กรกฎาคม 2553.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หลักเกณฑ์ วิธีการกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ
Advertisements

เกณฑ์การประเมินของ สกว.
7.1-1 ร้อยละผู้ที่สอบผ่านใบประกอบวิชาชีพ
การเผยแพร่และใช้ประโยชน์จากงานวิจัย
การนำเสนอบทความ เรื่อง การจัดการคุณภาพอากาศภายในอาคาร
การค้นหาค่า Impact Factor ของวารสาร ในฐานข้อมูล ISI
เล่าเรื่อง:โครงการเก็บเบี้ยใต้ถุนร้าน
การตัดเกรด โดย อาจารย์ ดร.จตุภูมิ เขตจัตุรัส
การศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา ภาควิชาสัตวบาล คณะเกษตร กำแพงแสน
การเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ
รายงานประจำปี การประเมินคุณภาพ 2551 ปีการศึกษา/ปีงบประมาณ
รายงาน ผลการประเมินคุณภาพ ประจำปี 2552 ภาควิชาพัฒนาการเกษตร คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
รายงาน ผลการประเมินคุณภาพ ประจำปี 2553
การพัฒนาคุณภาพ งานวิจัยตามเกณฑ์ ของ สกว. ภาควิชากุมารเวชศาสตร์
การพัฒนาคุณภาพงานวิจัย ภาควิชาสูติศาสตร์และนรีเวชวิทยา
การพัฒนาคุณภาพงานวิจัยตามเกณฑ์ สกว.
การพัฒนาคุณภาพงานวิจัยของภาควิชา ตามเกณฑ์ สกว. จากผลการประเมินภาควิชา
หน่วยส่งเสริมและพัฒนาทางวิชาการ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
สรุปประเด็นแนวปฏิบัติที่ดี ( Good Practice ) : ยุทธศาสตร์การเพิ่มจำนวนบทความวิจัย และ จำนวนการอ้างอิงในฐานข้อมูลวิจัยนานาชาติ 1. วิเคราะห์ baseline data.
การเพิ่มเติมผลงานวิจัย คณะวิทยาศาสตร์ ในเว็บไซต์
สายวิชาการ 58 คน ข้อมูล ณ 30 กันยายน 2553 จำนวนคน.
อาจารย์ ดร. พีรศักดิ์ สิริโยธิน คณบดีสำนักวิชาเทคโนโลยีสังคม
สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
การประกันคุณภาพการศึกษา
การประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ภาควิชาโสต ศอ นาสิกวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 3 พฤษภาคม 2554.
แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ.ศ
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหาร มจธ.
คณาจารย์ระดับอุดมศึกษา รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
STAFFS อาจารย์ แพทย์ใช้ทุน เจ้าหน้าที่ Ph.D. (9) M.Sc. (3)
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
การประชุมผู้ประเมินคุณภาพภายใน ประจำปีการศึกษา 2556 ครั้งที่ 1/2556 วันที่ 18 ตุลาคม
“การบริหารจัดการงานวิจัยและผลงานวิจัย”
S and T Publications Narongrit Sombatsompop
CHE QA ONLINE ประชุมชี้แจงการปรับปรุงและ การใช้ระบบฐานข้อมูลด้านการ ประกันคุณภาพการศึกษา ระดับอุดมศึกษา 28 ก. ค
การพัฒนาคุณภาพ งานวิจัย ของ ภาควิชาศัลยศาสตร์ ตามเกณฑ์ สกว.
พันธ กิจ สร้างและสนับสนุนงานวิจัยทาง อายุรศาสตร์ ที่มีคุณภาพและตอบสนองต่อ ปัญหาของประเทศโดยเฉพาะ ปัญหาทางสาธารณสุขใน ภาคใต้
การพัฒนาคุณภาพงานวิจัยของภาควิชาตามเกณฑ์ สกว. จากผลการประเมินภาควิชา
นโยบาย ฝ่ายการศึกษาหลังปริญญา
การวิเคราะห์งานวิจัย เรื่อง การพัฒนารูปแบบการประเมินประสิทธิผลองค์การภาครัฐเกี่ยวกับการศึกษาอาชีพนอกระบบโรงเรียน จัดทำโดย นายพิสณุ ฟองศรี หลักสูตรปริญญาครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต.
รายงานประจำปี การประเมินคุณภาพ 2551 ภาควิชาวาริชศาสตร์ คณะ ทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลาน ครินทร์ 23 มิถุนายน 2552.
ความคืบหน้าการเข้าสู่ตำแหน่งชำนาญการของสายสนับสนุน
ผลการ ดำเนินการด้าน การเรียนการ สอน. 1. การสรรหานักศึกษาที่มีคุณภาพดีเข้า คณะใด้มากขึ้น การลดจำนวนรับนักศึกษา ลงประมาณ 150 คน รับนักศึกษา 17 ช่องทาง คณะกรรมการดำเนินการประชาสัมพันธ์การรับ.
K hon K aen U niversity O ffice of Q uality M anagement ผลลัพธ์ IQA_KKU 2552.
ประกาศ ณ วันที่ 15 กรกฎาคม 2553 รองศาสตราจารย์ ดร. สุพรรณ ฟู่เจริญ.
หมวด 7 result 1. ECPE มิติที่ 7.1 ด้านการเรียนรู้ของผู้เรียน 2.
รางวัลผลงานวิจัย คณะแพทยศาสตร์
4 เมษายน 2560 หมวด 7 result.
มาตรฐานหลักสูตรปริญญาเอก สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ศาสตราจารย์ ดร. ปราณี กุลละ วณิชย์ 29 มีนาคม 2550.
การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในมหาวิทยาลัย/คณะ
การสำรวจหา ค่ากลาง นโยบายรัฐบาล เรื่องการพัฒนาสุขภาพของ ประชาชน ประกาศเมื่อ 23 สิงหาคม จัดให้มีมาตรการสร้างสุขภาพโดยมี เป้าหมายเพื่อลดอัตราป่วย.

1. ชื่อสถาบัน ให้ระบุชื่อ สถาบันการศึกษา คณะวิชา และภาควิชาที่เปิดสอน หลักสูตร 2. ชื่อหลักสูตร ให้ระบุชื่อ หลักสูตรและสาขาวิชาให้ ชัดเจน แบบรายงานข้อมูลการ.
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายใน
กลุ่มที่ 2 ผู้ปฏิบัติงานด้านการประกันคุณภาพ
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ทิศทางการพัฒนาวิทยาเขตขอนแก่น
กระบวนการประกันคุณภาพ ภาควิชาการพยาบาลพื้นฐาน
แบบคัดกรองนักเรียนที่มีภาวะสมาธิสั้นบกพร่องทางการเรียนรู้และออทิซึม
การสัมมนาการประกันคุณภาพการศึกษา เรื่อง “การพัฒนาคุณภาพนักศึกษาด้านวิชาการ” วันที่ 12 กันยายน 2552 ภาควิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
บริการแนะนำการผลิตตำรา งานวิจัยและการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ
ระบบคุณภาพมหาวิทยาลัยมหิดล
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
มาตรฐานตัวบ่งชี้ การประเมินคุณภาพภายนอก
ข้อเสนอเชิงนโยบาย  การเตรียมเอกสารวิชาการรับใช้สังคม นักวิชาการยังต้องการ “พี่เลี้ยง” ที่จะช่วยเติม มุมมองด้านวิชาการ มหาวิทยาลัยควรร่วมมือกับ กลไกสนับสนุนที่มีอยู่
โดย... จิรวัฒน์ พรหมพร แผนกสนับสนุนฝ่ายทรัพยากร อิเล็กทรอนิกส์ทางการศึกษา บริษัท บุ๊ค โปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส จำกัด โดย... จิรวัฒน์
Nanotechnology Cluster ภาคใต้ 1 โครงการพัฒนา นักวิจัยไทย ด้านวิทยาศาสตร์ เคมี และเภสัช ภาคใต้ ระยะที่ 2 แผน 5 ปี ( )
โปรแกรมวิเคราะห์สมรรถนะด้านวิจัย
งบประมาณและจำนวนโครงการ ปีงบประมาณ รวมทุกสายเฉพาะสายวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี
การแก้ไขปัญหา การขอกำหนด ตำแหน่งทางวิชาการ ซี 9
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพัฒนาคุณภาพงานวิจัยของ ภาควิชาตามเกณฑ์ สกว. จาก ผลการประเมินภาควิชาฯ ภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะ แพทยศาสตร์ 30 กรกฎาคม 2553

วิสัยทั ศน์ เป็นภาควิชาจิตเวชศาสตร์ที่มี ผลงานอยู่ในแนวหน้าของประเทศ ในปี พ. ศ พันธกิจด้าน งานวิจัย สร้างสรรค์งานวิจัยด้านจิตเวช ศาสตร์และสุขภาพจิตให้เป็นที่ ยอมรับในระดับชาติและนานาชาติ

งานวิจัย ภาควิชาฯ มีงานวิจัยน้อย สาย ข ค ไม่ค่อยมีงานวิจัย ไม่มีเวทีสำหรับการระดมสมอง เพื่อช่วยเหลือในการปฏิบัติงาน / สร้างสรรค์งานวิจัย อดีต เริ่มต้น -> young researcher club ปัจจุบัน -> * young researcher club * Research club สำหรับอาจารย์ใหม่และ แพทย์ใช้ทุนใหม่ ปัจจุ บัน อนาคต

ตัวชี้วัดที่ 1 เท่ากับ ผลรวมของ Equivalent International Journal Publication / จำนวนอาจารย์ แสดงถึงความสามารถของอาจารย์ในการผลิต ผลงานวิจัยตีพิมพ์เทียบเท่าวารสารนานาชาติ โดยวัดจำนวนบทความต่ออาจารย์ 1 ท่าน ( บทความแต่ละประเภทมีน้ำหนักแตกต่างกัน ) / วัดสัดส่วนปริมาณงาน ( หารด้วยจำนวนคน )

Year KPI >0.5 = excellent = good = fair = need improve > urgent improve 1 เรื่อง 2 เรื่อง 4 เรื่อง 5 เรื่อง ขึ้นอยู่กับ สัดส่วนการ ตีพิมพ์แบ่งเท่ากัน กับ น้ำหนักวารสาร

ประเภทของวารสาร วารสารนานาชาติในฐานข้อมูล ISI ค่าน้ำหนัก 1 วารสารนานาชาตินอกฐานข้อมูล ISI ค่าน้ำหนัก 0.75 วารสารระดับชาติ ค่าน้ำหนัก 0.5 วารสารระดับสถาบันหรือ IF>0.01 ค่าน้ำหนัก 0.25 วารสารระดับสถาบันหรือ IF<0.01 ค่าน้ำหนัก 0.125

1 วารสารนานาชาติใน ฐานข้อมูล ISI Psychiatry Research Current opinion Psychiatry Drug Alcohol Depend Alcohol Sm-Clinical and Experimental Research 0.75 วารสารนานาชาตินอก ฐานข้อมูล ISI Asian Journal of Psychiatry International Review of Psychiatry จดหมายเหตุทางการแพทย์ แพทยสมาคมแห่งประเทศไทย 0.5 วารสารระดับชาติวารสารสุขภาพจิต สงขลานครินทร์เวชสาร วารสารสมาคมจิตแพทย์แห่ง ประเทศไทย

ตัวชี้วัดที่ 2 เท่ากับ ผลรวม Impact Factor/ จำนวนอาจารย์ แสดงถึงความสามารถของอาจารย์ในการผลิต ผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับ นานาชาติที่มีคุณภาพในด้านการได้รับการ อ้างอิง โดยวัดค่า impact factor ต่ออาจารย์ 1 ท่าน

Year KPI >0.5 = excellent = good = fair = need improve > urgent improve 1 เรื่อง 2 เรื่อง 4 เรื่อง 5 เรื่อง ขึ้นอยู่กับ สัดส่วนการ ตีพิมพ์แบ่งเท่ากัน กับ Journal Impact Factor

วารสารที่ส่งตีพิมพ์ - จดหมายเหตุทางการแพทย์ แพทยสมาคมแห่ง ประเทศไทย IF= วารสารสมาคมจิตแพทย์แห่งประเทศไทย IF= วารสารสุขภาพจิตแห่งประเทศไทย IF= สงขลานครินทร์เวชสาร IF= วารสารที่ส่งภาควิชาฯสนใจตีพิมพ์เพิ่มเติมสำหรับ งานวิจัยสาย ข - วารสารพฤติกรรมศาสตร์ IF= วารสารวิทยาศาสตร์ มข. IF= วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต IF= วารสารสมาคมพยาบาล สาขาภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ IF= 0.750

ตัวชี้วัดที่ 3 เท่ากับ ผลรวม EIJ (Equivalent International Journal) แสดงถึงความสามารถของสาขาวิชาในการผลิต ผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์เทียบกับวารสารระดับ นานาชาติ ตัวชี้วัดที่ 3 (KPI 3) =  EIJ(H) เหมือน KPI 1 แต่ไม่ต้องนำมา หารกับจำนวน อาจารย์

1 เรื่อง 2 เรื่อง 4 เรื่อง 5 เรื่อง

ตัวชี้วัดที่ 4 เท่ากับผลรวม IF (Impact factor) แสดงถึงความสามารถของสาขาวิชาการในการ ผลิตผลงานวิจัยในวารสารระดับนานาชาติที่มี คุณภาพในด้านการได้รับการอ้างอิงโดยวัดค่า จาก IF ตัวชี้วัดที่ 4 (KPI 4) =  IF(J) เหมือน KPI 2 แต่ไม่ต้องนำมา หารกับจำนวน อาจารย์

1 เรื่อง 2 เรื่อง 4 เรื่อง 5 เรื่อง

YearKPI 1KPI 2KPI 3KPI

แนวทางในการพัฒนา เพิ่มสัดส่วนอาจารย์ในชิ้นงานวิจัย เลือกวารสารที่จะลงตีพิมพ์งานวิจัย ผลักดันให้ทุกผลงานวิจัยได้ลงตีพิมพ์ใน วารสาร