ตัวอย่างการเขียน ในบทที่ 5.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สมเกียรติ คูหเวโรจนปกรณ์
Advertisements

เทคนิคการเขียน งานวิเคราะห์
การวิเคราะห์และประเมินค่างาน
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
How to do Project! academic year 2553 presented by PTD.
การกำหนดปัญหา และความต้องการ (Problem Definition and Requirements)
การจัดทำกรอบอัตรากำลัง ประจำปีงบประมาณ
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
Graduate School Khon Kaen University
โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เกี่ยวกับระเบียบกระทรวงการคลัง
ผลงานประเมินเข้าสู่ตำแหน่งนักวิชาการเงินและบัญชีชำนาญการพิเศษ
นางสาววราภรณ์ สุภเกษมวงศ์
งานทรัพยากรบุคคล การปรับเปลี่ยนการดำเนินการ ด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล
การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชี้ สกอ. และ สมศ.
การเปิดเผยข้อมูลและ นโยบายการบัญชี
การพัฒนาระบบห้องสมุดอัตโนมัติเพื่อเชื่อมโยง
Management Information Systems
มคอ.4 รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม
วิธีการเขียนรายงานของปัญหาพิเศษ
การชี้แจงบุคลากรทางการศึกษาอื่น ตามมาตรา 38ค.(2) เรื่อง กรอบอัตรากำลัง
: หัวข้อและประเด็นปัญหา
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
บทที่ 8 ระบบบัญชีสินทรัพย์ถาวร
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
แนวปฏิบัติ การขอกำหนดตำแหน่งให้สูงขึ้น ของบุคลากรสายปฏิบัติการ
การเขียนรายงานการใช้เอกสารประกอบการสอน
การวัดและประเมินพัฒนาการของผู้เรียน
ระบบการเบิก-จ่าย ลูกหนี้เงินยืม
ทำการตั้งเบิกเพิ่ม แบบฟอร์ม GFMIS.ขบ.03 เพื่อชดใช้ใบสำคัญ
ผศ.ดร.กัลยาณี คูณมี ทีมที่ปรึกษาสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
การศึกษาความพึงพอใจของ
รายงานการวิจัย การศึกษาความพึงพอใจของบุคลากรสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ปีงบประมาณ พ.ศ.2552 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร.
การวิจัยในชั้นเรียนด้านอาชีวศึกษา
การวัดผลและประเมินผลการศึกษา วิชาการจัดการสินค้าและสินค้าคงคลัง
ให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ผู้อำนวยการชำนาญการพิเศษ
การเขียนบทคัดย่อ และ Abstract
แนวทางการวางแผนและจัดสรรอัตรากำลังสถาบันอุดมศึกษา
ระเบียบวาระการเตรียมทีมนิเทศงาน ปี 2557
คือ ระบบบัญชีคอมพิวเตอร์
บทที่ 9 สถิติที่ใช้ในการประเมินผล
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
เทคนิคการเขียน งานวิเคราะห์ จากงานประจำ
การทำผลงานวิชาการ สงวนลิขสิทธิ์.....โดย ดร.สุรชาติ สังข์รุ่ง.
การเขียนข้อเสนอโครงการ
การบริหารวิชาการและการเรียนการสอน
คำอธิบายรายวิชา 1.คำอธิบายรายวิชา (คัดจากเอกสารหลักสูตร)
เพื่อการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร.พันธ์ ทองชุมนุม
 โครงการเป็นเครื่องมือในการบริหารงานและ พัฒนาองค์กร และเป็นการแปลงแผนแม่บทไปสู่ การปฏิบัติ
ความคิดเห็นที่มีต่อการ ประเมินผลการปฏิบัติงานของ บุคลากรวิทยาลัยเทคโนโลยี ฐานเทคโนโลยี บรรยวัสถ์ สินทรัพย์
การแบ่งหนังสือออกตามลักษณะการจัดทำและความเหมาะสมของผู้อ่านแต่ละกลุ่ม
การวิจัยการบริหาร ทรัพยากรมนุษย์ ดร. สุจิตรา ธนานันท์
การสร้างเครื่องมือและรวบรวมข้อมูลเพื่อจัดทำผลงานทางวิชาการ
ผู้วิจัย อาจารย์วิโรจน์ เด่นวานิช
สำหรับโรงเรียนจัดตั้งใหม่ให้พิจารณาตามความต่อเนื่อง
วัตถุประสงค์ : ๑. เพื่อประชาสัมพันธ์ข่าวสาร ความเคลื่อนไหวภายในคณะศึกษาศาสตร์ แก่ คณาจารย์ เจ้าหน้าที่ และนักศึกษา ๒. เพื่อเป็นสื่อกลางในการเสริมความเข้าใจอันดีระหว่างคณาจารย์
การพัฒนาการเรียนรู้รายวิชาการโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วย e-Learning
สถิติเพื่อการวิจัย 1. สถิติเชิงบรรยาย 2. สถิติเชิงอ้างอิง.
การเขียนรายงานผลการวิจัย
แนวปฏิบัติและวิธีการ ขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการของคณาจารย์
ด้านบริหารงานงบประมาณ ฉบับปรับปรุง มิถุนายน 2554
นโยบายการพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ
ผู้วิจัย อาจารย์กุลรภัส ปองไป
บทที่ 5 การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
กลุ่มกำกับมาตรฐานการบัญชี สตท.7 29 ม. ค.51. แบ่งเป็น 3 ประเภท คือ แบ่งเป็น 3 ประเภท คือ  รายงาน ประจำเดือน  รายงานประจำปี  รายงานกรณี เร่งด่วน รายงานการตรวจสอบกิจการรายงานการตรวจสอบกิจการ.
Progress Report 2548 Financial Report Link to Progress Report 2550 Capacity Building 2551 Estimates Report Link to Excel Loader KPI Strategy.
ตัวอย่าง การเขียนโครงการ
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน
หลักเกณฑ์และเงื่อนไข การเลื่อนเงินเดือนประการอื่น ๆ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ตัวอย่างการเขียน ในบทที่ 5

การเขียนรายงานผลการวิเคราะห์ การเขียนรายงานการวิเคราะห์ มีทั้งแบบฉบับสมบูรณ์ฉบับเต็ม และแบบฉบับสั้น กรณีรายงานแบบไม่เป็นทางการจะเขียนรายงานที่เป็นฉบับสั้น แต่จะครอบคลุมสาระสำคัญของการวิเคราะห์ ใช้ภาษาง่ายๆ เรียบเรียงโดยใช้ความคิดเป็นของตนเอง ประกอบด้วย..... วัตถุประสงค์ วิธีดำเนินการศึกษาวิเคราะห์ ผลการวิเคราะห์ และข้อเสนอแนะจากการวิเคราะห์ รายงานที่เป็นฉบับสั้น อาจมีความยาวเพียง 1 หน้ากระ ดาษ A4 จนถึง 3-6 หน้ากระดาษ A4 และถึงแม้จะเป็นฉบับสั้น แต่ก็ควรมีสาระสำคัญที่ครบถ้วน

ตัวอย่างหัวข้อ ในการทำงานวิเคราะห์

- วิเคราะห์นักศึกษาใหม่ (น.วิชาการศึกษา,น.วิเคราะห์,จ.บริหาร) - วิเคราะห์นักศึกษาเต็มเวลา (น.วิเคราะห์) - วิเคราะห์การตกออกซ้ำชั้น (น.วิชาการศึกษา,น.วิเคราะห์,จ.บริหาร) - วิเคราะห์การสละสิทธิ์ของนักศึกษา (น.วิชาการศึกษา,น.วิเคราะห์,จ.บริหาร) - วิเคราะห์การใช้ประโยชน์จากอาคาร (น.วิเคราะห์,จ.บริหาร) - วิเคราะห์ความต้องการใช้พื้นที่อาคาร (น.วิเคราะห์,จ.บริหาร) - วิเคราะห์หลักสูตร (น.วิชาการศึกษา,น.วิเคราะห์,จ.บริหาร) - วิเคราะห์ความต้องการใช้สาธารณูปโภค (น.วิเคราะห์,จ.บริหาร) - วิเคราะห์ศักยภาพบุคลากร (จ.บุคคล,น.วิเคราะห์,จ.บริหาร)

- วิเคราะห์การจัดซื้อวัสดุ/ครุภัณฑ์(น.พัสดุ,น.วิเคราะห์,จ.บริหาร) - วิเคราะห์การบริหารวัสดุ/ครุภัณฑ์ (น.พัสดุ, น.วิเคราะห์,จ.บริหาร) - วิเคราะห์การบริหารงบประมาณ (น.การเงิน, น.วิเคราะห์) - วิเคราะห์หนังสือเข้า-ออก (จ.บริหาร) - วิเคราะห์การการเข้าสู่ตำแหน่ง ผศ รศ. ศ.(น.วิเคราะห์,จ.บุคคล) - วิเคราะห์ความต้องการกรอบอัตรา ช. ชช. (น.วิเคราะห์,จ.บุคคล) - วิเคราะห์ งปม.ที่ได้รับระยะ 3ปี (น.การเงิน,น.วิเคราะห์,จ.บริหาร) - วิเคราะห์ความต้องการห้องเรียนบรรยาย (น.วิเคราะห์,จ.บริหาร) - วิเคราะห์ความต้องการห้องปฏิบัติการ (น.วิทย์,น.วิเคราะห์) - วิเคราะห์สถิติผู้ป่วย (น.เวชสถิติ)

- วิเคราะห์ฐานข้อมูลการเงิน (น.การเงิน,น.วิเคราะห์,จ.บริหาร) - วิเคราะห์ฐานข้อมูลอาคาร (น.วิเคราะห์,จ.บริหาร) - วิเคราะห์หลักเกณฑ์วิธีการจัดสรรงบประมาณของ คณะ/มหาวิทยาลัย (น.การเงิน,น.วิเคราะห์,จ.บริหาร) - วิเคราะห์ค่าใช้จ่ายในลักษณะต่างๆ (น.การเงิน,น.วิเคราะห์,จ.บริหาร) - วิเคราะห์แนวโน้มงบประมาณในปีต่อไป (น.การเงิน,น.วิเคราะห์) - วิเคราะห์แนวทางในการจัดหารายได้ของคณะ/มหาวิทยาลัย - วิเคราะห์การพึงพาตนเองด้าน เงินรายได้ - วิเคราะห์ภาระงบประมาณที่เป็นค่าใช้จ่ายด้านบุคลากร (จ.บุคคล,น.วิเคราะห์,จ.บริหาร)

- วิเคราะห์หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผลเพื่อการเลื่อยเงินเดือนประจำปี คณะ...มหาวิทยาลัย..(จ.บุคคล,น.วิเคราะห์)* - วิเคราะห์เปรียบความแตกต่างระหว่างทรรศนะของผู้บริหารและคณาจารย์สังกัดส่วนกลางและวิทยาเขตภูมิภาคที่มี ต่อหลักเกณฑ์และวิธีใช้ t-test (น.พัสดุ, น.วิเคราะห์,จ.บริหาร)* - วิเคราะห์เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างทรรศนะของผู้บริหารและคณาจารย์ที่มีประสบการณ์ทำงานต่างกัน ต่อหลักเกณฑ์และวิธีใช้ t-test(น.วิชาการ,น.วิเคราะห์,จ.บริหาร)* - วิเคราะห์เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างทรรศนะของผู้บริหารและคณาจารย์ที่ตำแหน่งทางวิชาการต่างกัน ต่อหลักเกณฑ์และวิธีใช้ f-test(น.วิชาการ,น.วิเคราะห์,จ.บริหาร)* ฯลฯ

มีปัญหา ปรึกษา ติดต่อ.... 089-617-7878 หรือ ruajar@kku.ac.th