โดย รศ. ดร. พูนสุข ประเสริฐสรรพ์ 29 กันยายน 2548

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สมเกียรติ คูหเวโรจนปกรณ์
Advertisements

กระบวนการสร้างแบบทดสอบ
การเขียนบทความ.
หลักเกณฑ์ วิธีการกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ
การเขียนผลงานวิชาการ
เทคนิคการอ่านรายงานการวิจัย
รายละเอียดของการทำ Logbook
1 ข้อแนะนำในการสร้าง Web โครงการ โดย ดร. วรินทร์ สุวรรณวิสูตร อาจารย์ผู้ประสานงานวิชาโครงการ.
โดย ดร.วรินทร์ สุวรรณวิสูตร อาจารย์ผู้ประสานงานวิชาโครงการ
รศ. ดร. สมศักดิ์ คงเที่ยง
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
รายงานการวิจัย.
Research Problem ปัญหาการวิจัย
การค้นหาค่า Impact Factor ของวารสาร ในฐานข้อมูล ISI
เล่าเรื่อง:โครงการเก็บเบี้ยใต้ถุนร้าน
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
กระบวนการตีพิมพ์งานวิจัย ในวารสารวิชาการ
1 ข้อแนะนำในการสร้าง Web โครงการ ดร. วรินทร์ สุวรรณวิสูตร ( ไม่ยืนยันว่าครบถ้วนตามหลักวิชาการ )
การเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ
การเผยแพร่บทความวิชาการจากรายงานวิจัย
เพื่อรับการประเมินภายนอก
โครงสร้างของการเขียนรายงานการวิจัย
Seminar in computer Science
บทที่ 6 การนำเสนอผลการศึกษาค้นคว้า
การศึกษาดูงานในประเทศ และต่างประเทศ
Poster Presentation โดย สำหรับ การประชุม สคร.5 รศ.นพ.สมพนธ์ ทัศนิยม
คณาจารย์ระดับอุดมศึกษา รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
สรุปกิจกรรม : โสเหล่ครั้งที่ 5 การเตรียมสอบสอน/การยื่นผศ. 29 พ. ค
: หัวข้อและความสำคัญของปัญหา
: หัวข้อและประเด็นปัญหา
รศ. ดร. สุนีย์ เหมะประสิทธิ์
การทำวิทยานิพนธ์อย่างไรให้สำเร็จอย่างมีความสุข
เอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
เทคนิคการวิจัยแบบ EFR (The Ethnographic Futures Research)
การเสริมสร้างความเข้มแข็งของระบบบัณฑิตศึกษา
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
ความคืบหน้าการเข้าสู่ตำแหน่งชำนาญการของสายสนับสนุน
และอนามัยสิ่งแวดล้อม
มาตรฐานหลักสูตรปริญญาเอก สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ศาสตราจารย์ ดร. ปราณี กุลละ วณิชย์ 29 มีนาคม 2550.
การเขียนรายงานการวิจัย
การทบทวนวรรณกรรมสำหรับนักวิจัย
การสนับสนุน ทุนอุดหนุนวิจัยมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
การบริหารการวิจัย รองศาสตราจารย์ ดร.โยธิน แสวงดี
การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
ระหว่างวันที่ พฤศจิกายน 2549 “การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสอง” ท่านเคยได้ยินเรื่องนี้หรือไม่ ??
การเขียนบทคัดย่อ และ Abstract
โครงการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่อง เข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) เขียนลักษณะสำคัญขององค์กร :
และการประเมินแบบมีส่วนร่วม
R2R ในโรงพยาบาลสำเร็จ ได้อย่างไร
ผลลัพธ์การเรียนรู้:ผลการจัดการความรู้
การสัมมนาการประกันคุณภาพการศึกษา เรื่อง “การพัฒนาคุณภาพนักศึกษาด้านวิชาการ” วันที่ 12 กันยายน 2552 ภาควิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
อาจารย์ระดับอุดมศึกษา รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
ทำไมต้องตีพิมพ์? สื่อสารกับคนอื่น ๆ ผ่านการตรวจสอบ เครื่องยืนยัน
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
Hands-on Writing Workshop. O bjectives  เพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ที่ได้จากการวิจัย สู่ ระดับผู้กำหนดนโยบาย ผู้ปฏิบัติทุกระดับ นักวิจัย และประชาชน  เพื่อพัฒนาทักษะด้านการวิจัยให้กับบุคลากร.
วิธีดำเนินการพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์
เทคนิคการจัดเวทีประชาคม
บทที่ 7 การศึกษาและ การนำเสนอสารสนเทศ
Educational Standards and Quality Assurance ผศ.ดร.ชัยยุทธ ศิริสุทธิ์
เทคนิคการรวบรวมข้อมูล
สังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน จังหวัดอุดรธานี
การสอนโดยการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
CS499 (1/2554) The Process of Pre-CS499.
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
การพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย (R2R)
บทที่ 5 การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
รายละเอียดของรายวิชา (มคอ.3)
การวางแผนและการเขียนโครงการวิจัย
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
เทคนิควิธีในการจัดการเรียนการสอน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โดย รศ. ดร. พูนสุข ประเสริฐสรรพ์ 29 กันยายน 2548 การนำเสนอ Best Practice ผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์ในระดับนานาชาติ คณะอุตสาหกรรมเกษตร โดย รศ. ดร. พูนสุข ประเสริฐสรรพ์ 29 กันยายน 2548

Input Process Output ผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์ ผลงานวิจัย

ผลงานวิจัยที่ดี Input : การทำงานร่วมกันเป็นทีม (T.E.A.M) Proposal ดี แหล่งทุนดีมีชื่อเสียง Input : ผลงานวิจัยที่ดี สภาพแวดล้อมดี บรรยากาศใน Lab & องค์กร วัฒนธรรมองค์กร การมี Lab เฉพาะทาง นักวิจัยดี มีฝีมือ มีความละเอียดรอบคอบ มุ่งมั่น ทุ่มเท รักงานวิจัย ทวนสอบทั้งผลและวิธีการ เครื่องมือดี สภาพดี พร้อมใช้งาน ได้มาตรฐาน

ผลงานวิจัยที่สมบูรณ์ กำหนดวารสารที่จะตีพิมพ์ เตรียม manuscript ส่งให้ Co-authors หรือผู้เชี่ยวชาญ แก้ไขและตรวจสอบความถูกต้อง Submit (on-line, hard-copy)

แก้ไขและชี้แจงต่อ reviewer Revision Rebuttal แก้ไขและชี้แจงต่อ reviewer ตอบรับการตีพิมพ์ ตรวจ proof และเซ็นลงนาม Copyright transfer form ตีพิมพ์

การเลือกวารสารที่จะตีพิมพ์ Impact factor Theme ของวารสาร Process : Reviewing process การเลือกวารสารที่จะตีพิมพ์ ค่า page-charge ข้อกำหนดของแหล่งทุน ความต้องการในการตีพิมพ์ เร็ว-ช้า คุณภาพของผลงานวิจัย ผลตอบแทน

A แก้ไข P วางแผนการเขียน C การตรวจสอบ D ลงมือเขียน Submit (on-line, hard-copy) A แก้ไข P วางแผนการเขียน การเตรียม manuscript C การตรวจสอบ D ลงมือเขียน

A แก้ไข P วางแผนการเขียน C การตรวจสอบ D ลงมือเขียน Submit (on-line, hard-copy) A แก้ไข P วางแผนการเขียน การเตรียม manuscript C การตรวจสอบ D ลงมือเขียน

หลักการเรียบเรียงบทความวิชาการ มีหัวข้อครบ ทุกหัวข้อทุกประโยค “มีหน้าที่” และ “กลยุทธ์การเขียน” ทุกหัวข้อทุกประโยคมีความสัมพันธ์กันตลอด ไม่มีคำพูดซ้ำซาก ทั้งภาษาและข้อมูล เลือกใช้วิธีการแสดงข้อมูลที่เข้าใจง่าย ต้องมีการวิเคราะห์และสังเคราะห์ เขียนและอ่านซ้ำหลายรอบ เพื่อ “เรียบเรียงลำดับ”

เทคนิคการเขียน เขียนจากง่ายไปยาก บทนำ วิธีการ ผล วิจารณ์ สรุป บทคัดย่อ ตรวจทานหลายๆ ครั้ง (critical reading) ให้คนอื่นอ่าน ผู้ร่วมวิจัย (ในและนอกสาขา), นักศึกษา, ผู้ทรงคุณวุฒิ อาจทิ้งระยะ (1-2 สัปดาห์) และอ่านใหม่ (ด้วยบทบาทของผู้อ่านบทความที่ท่านเขียน)

A แก้ไข P วางแผนการเขียน C การตรวจสอบ D ลงมือเขียน Submit (on-line, hard-copy) A แก้ไข P วางแผนการเขียน การเตรียม manuscript C การตรวจสอบ D ลงมือเขียน

A แก้ไข P วางแผนการเขียน C การตรวจสอบ D ลงมือเขียน Submit (on-line, hard-copy) A แก้ไข P วางแผนการเขียน การเตรียม manuscript C การตรวจสอบ D ลงมือเขียน

บทบาทของผู้ทรงคุณวุฒิ ดู rationale จาก introduction (ใหม่ ประเด็นน่าสนใจ) ดู logic ของ วิธีการ การวิเคราะห์ การสังเคราะห์ การสรุป ดูความ precise ของภาษา ดูลำดับการเรียบเรียง (การป้อนข้อมูลให้คนอ่าน) ดู abstract ว่าครบและตรง

แก้ไขและชี้แจงต่อ reviewer Revision Rebuttal แก้ไขและชี้แจงต่อ reviewer ตอบรับการตีพิมพ์ ตรวจ proof และเซ็นลงนาม Copyright transfer form ตีพิมพ์

A แก้ไข P วางแผนการเขียน C การตรวจสอบ D ลงมือเขียน Submit (on-line, hard-copy) A แก้ไข P วางแผนการเขียน การเตรียม manuscript C การตรวจสอบ D ลงมือเขียน

Quality of writing = f (quantity of writing, familiarity with writing process, quality of feedback) (Professor Thomas Hilgers, University of Hawii)

“No work is finished until the paper is done” “No excuse”

“ความพยายามอยู่ที่ไหนความสำเร็จอยู่ที่นั่น”

ขอขอบคุณ คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายใน สำนักประกันคุณภาพ มอ. คณะทำงานพัฒนา Best Practices ของคณะอุตสาหกรรมเกษตร

สวัสดีค่ะ