โดย รศ. ดร. พูนสุข ประเสริฐสรรพ์ 29 กันยายน 2548 การนำเสนอ Best Practice ผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์ในระดับนานาชาติ คณะอุตสาหกรรมเกษตร โดย รศ. ดร. พูนสุข ประเสริฐสรรพ์ 29 กันยายน 2548
Input Process Output ผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์ ผลงานวิจัย
ผลงานวิจัยที่ดี Input : การทำงานร่วมกันเป็นทีม (T.E.A.M) Proposal ดี แหล่งทุนดีมีชื่อเสียง Input : ผลงานวิจัยที่ดี สภาพแวดล้อมดี บรรยากาศใน Lab & องค์กร วัฒนธรรมองค์กร การมี Lab เฉพาะทาง นักวิจัยดี มีฝีมือ มีความละเอียดรอบคอบ มุ่งมั่น ทุ่มเท รักงานวิจัย ทวนสอบทั้งผลและวิธีการ เครื่องมือดี สภาพดี พร้อมใช้งาน ได้มาตรฐาน
ผลงานวิจัยที่สมบูรณ์ กำหนดวารสารที่จะตีพิมพ์ เตรียม manuscript ส่งให้ Co-authors หรือผู้เชี่ยวชาญ แก้ไขและตรวจสอบความถูกต้อง Submit (on-line, hard-copy)
แก้ไขและชี้แจงต่อ reviewer Revision Rebuttal แก้ไขและชี้แจงต่อ reviewer ตอบรับการตีพิมพ์ ตรวจ proof และเซ็นลงนาม Copyright transfer form ตีพิมพ์
การเลือกวารสารที่จะตีพิมพ์ Impact factor Theme ของวารสาร Process : Reviewing process การเลือกวารสารที่จะตีพิมพ์ ค่า page-charge ข้อกำหนดของแหล่งทุน ความต้องการในการตีพิมพ์ เร็ว-ช้า คุณภาพของผลงานวิจัย ผลตอบแทน
A แก้ไข P วางแผนการเขียน C การตรวจสอบ D ลงมือเขียน Submit (on-line, hard-copy) A แก้ไข P วางแผนการเขียน การเตรียม manuscript C การตรวจสอบ D ลงมือเขียน
A แก้ไข P วางแผนการเขียน C การตรวจสอบ D ลงมือเขียน Submit (on-line, hard-copy) A แก้ไข P วางแผนการเขียน การเตรียม manuscript C การตรวจสอบ D ลงมือเขียน
หลักการเรียบเรียงบทความวิชาการ มีหัวข้อครบ ทุกหัวข้อทุกประโยค “มีหน้าที่” และ “กลยุทธ์การเขียน” ทุกหัวข้อทุกประโยคมีความสัมพันธ์กันตลอด ไม่มีคำพูดซ้ำซาก ทั้งภาษาและข้อมูล เลือกใช้วิธีการแสดงข้อมูลที่เข้าใจง่าย ต้องมีการวิเคราะห์และสังเคราะห์ เขียนและอ่านซ้ำหลายรอบ เพื่อ “เรียบเรียงลำดับ”
เทคนิคการเขียน เขียนจากง่ายไปยาก บทนำ วิธีการ ผล วิจารณ์ สรุป บทคัดย่อ ตรวจทานหลายๆ ครั้ง (critical reading) ให้คนอื่นอ่าน ผู้ร่วมวิจัย (ในและนอกสาขา), นักศึกษา, ผู้ทรงคุณวุฒิ อาจทิ้งระยะ (1-2 สัปดาห์) และอ่านใหม่ (ด้วยบทบาทของผู้อ่านบทความที่ท่านเขียน)
A แก้ไข P วางแผนการเขียน C การตรวจสอบ D ลงมือเขียน Submit (on-line, hard-copy) A แก้ไข P วางแผนการเขียน การเตรียม manuscript C การตรวจสอบ D ลงมือเขียน
A แก้ไข P วางแผนการเขียน C การตรวจสอบ D ลงมือเขียน Submit (on-line, hard-copy) A แก้ไข P วางแผนการเขียน การเตรียม manuscript C การตรวจสอบ D ลงมือเขียน
บทบาทของผู้ทรงคุณวุฒิ ดู rationale จาก introduction (ใหม่ ประเด็นน่าสนใจ) ดู logic ของ วิธีการ การวิเคราะห์ การสังเคราะห์ การสรุป ดูความ precise ของภาษา ดูลำดับการเรียบเรียง (การป้อนข้อมูลให้คนอ่าน) ดู abstract ว่าครบและตรง
แก้ไขและชี้แจงต่อ reviewer Revision Rebuttal แก้ไขและชี้แจงต่อ reviewer ตอบรับการตีพิมพ์ ตรวจ proof และเซ็นลงนาม Copyright transfer form ตีพิมพ์
A แก้ไข P วางแผนการเขียน C การตรวจสอบ D ลงมือเขียน Submit (on-line, hard-copy) A แก้ไข P วางแผนการเขียน การเตรียม manuscript C การตรวจสอบ D ลงมือเขียน
Quality of writing = f (quantity of writing, familiarity with writing process, quality of feedback) (Professor Thomas Hilgers, University of Hawii)
“No work is finished until the paper is done” “No excuse”
“ความพยายามอยู่ที่ไหนความสำเร็จอยู่ที่นั่น”
ขอขอบคุณ คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายใน สำนักประกันคุณภาพ มอ. คณะทำงานพัฒนา Best Practices ของคณะอุตสาหกรรมเกษตร
สวัสดีค่ะ