รายงานการบาดเจ็บจากอุบัติเหตุขนส่ง โรงพยาบาลหาดใหญ่ ปี 2551 รายงานการบาดเจ็บจากอุบัติเหตุขนส่ง โรงพยาบาลหาดใหญ่ ปี 2551
วัตถุประสงค์ เสนอข้อมูลการบาดเจ็บจากอุบัติเหตุการขนส่งโรงพยาบาลหาดใหญ่ เสนอสัดส่วนผู้ป่วยและบาดเจ็บจากรถจักรยานยนต์ โรงพยาบาลหาดใหญ่ โรงพยาบาลสงขลา และโรงพยาบาลสงขลานครินทร์ เพื่อประโยชน์การรณรงค์ในกลุ่มเสี่ยง
ข้อมูล ข้อมูลจาก : งานเวชระเบียน โรงพยาบาลหาดใหญ่ ห้องฉุกเฉิน โรงพยาบาลสงขลา งานเวชระเบียน โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ ประเภทข้อมูล : โรงพยาบาลหาดใหญ่ - เสียชีวิตก่อนถึงห้องฉุกเฉิน : จำนวน เพศ - ผู้ป่วยรับบริการที่ห้องฉุกเฉิน : จำนวนทั้งหมด ผู้ป่วยนอก(รักษาแล้วกลับบ้าน) ผู้ป่วยใน(รับไว้รักษาในโรงพยาบาล) โดยจำแนกจำนวน/เดือน เพศ อายุ และรถจักรยานยนต์ โรงพยาบาลหาดใหญ่ โรงพยาบาลสงขลา และโรงพยาบาลสงขลานครินทร์ : สัดส่วนจำนวนผู้ป่วย และรถจักรยานยนต์
โรงพยาบาลหาดใหญ่ ปี 2551 ผู้ป่วยรับบริการที่ห้องฉุกเฉิน โรงพยาบาลหาดใหญ่ ปี 2551 ผู้ป่วยรับบริการที่ห้องฉุกเฉิน เสียชีวิตก่อนถึงห้องฉุกเฉิน : 10 คน ชาย 5 คน หญิง 5 คน ผู้ป่วยทั้งหมด 6,969 ราย เฉลี่ย 581 ราย/เดือน จำแนก : ชาย 62% (4,304/6,969) หญิง 38% (2,665/6,969) รถจักรยานยนต์ 80% (5,597/6,969) อายุ < 35 ปี 73% (5,089/6,969)
ผู้ป่วยทั้งหมด ปี 2551 : ชาย/หญิง/เดือน จำนวน ข้อคิดเห็น : จำนวนผู้ป่วยแต่ละเดือนอยู่ในระดับใกล้เคียงกัน และไม่มีเดือนที่เด่น ไม่ขึ้นกับเทศกาลปีใหม่ และสงกรานต์
ผู้ป่วยทั้งหมด ปี 2551 : จยย./เดือน จำนวน ข้อมูล : สัดส่วนรถจักรยานยนต์ต่อผู้ป่วยรายเดือน ระหว่าง 69% (ก.ย.)-86% (ม.ค.) หมายเหตุ : % = จยย.ทั้งหมดของเดือน/จำนวนผู้ป่วยของเดือนนั้น
ผู้ป่วยทั้งหมด ปี 2551 : อายุ ชาย/หญิง/จำนวน ข้อคิดเห็น : 53% อายุ < 25 ปี และ 73% อายุ< 35 ปี ชายมีสัดส่วนสูงกว่าหญิงทุกช่วงอายุ หมายเหตุ % = จำนวนของอุบัติการณ์ตามช่วงอายุ/จำนวนผู้ป่วยทั้งหมด
โรงพยาบาลหาดใหญ่ ปี 2551 ผู้ป่วยนอก(รักษาแล้วกลับบ้าน) โรงพยาบาลหาดใหญ่ ปี 2551 ผู้ป่วยนอก(รักษาแล้วกลับบ้าน) 4,427 ราย เฉลี่ย 369 ราย/เดือน จำแนก : ชาย 57% (2,534/4,427) หญิง 43% (1,893/4,427) รถจักรยานยนต์ 81% (3,607/4,427) รถจักรยานยนต์ ชาย 56% (2,025/3,607) อายุ < 15 ปี 18% (789/4,427) อายุ < 35 ปี 77% (3,384/4,427)
ผู้ป่วยนอก ปี 2551 : ชาย/หญิง/เดือน จำนวน ข้อคิดเห็น : สัดส่วนชายบาดเจ็บระหว่าง 54% (พ.ค.)-61% (มี.ค.) เฉลี่ย = 57% ซึ่งสูงกว่าหญิงทุกเดือน แต่ยังไม่เด่นชัด หมายเหตุ : % = จำนวนชายของเดือน/จำนวนผู้ป่วยของเดือนนั้น
ผู้ป่วยนอก ปี 2551 : จยย.ทั้งหมด/จยย.ชาย จำนวน ข้อมูล : สัดส่วนจยย.ของเดือนต่อผู้ป่วยรายเดือนในเดียวกัน ระหว่าง 69% (กย.)-86% (มค.) เฉลี่ย = 81% สัดส่วนจยย.ชายของเดือนต่อจยย.ของเดือนในเดียวกัน ระหว่าง 53% (พย.)-60% (มีค.) เฉลี่ย = 56%
ผู้ป่วยนอก ปี 2551 : อายุ หญิง/ชาย/จำนวน ข้อคิดเห็น : 57% อายุ < 25 ปี และ 77% อายุ < 35 ปี ชายมีสัดส่วนสูงกว่าหญิงทุกช่วงอายุ หมายเหตุ % = จำนวนของอุบัติการณ์ตามช่วงอายุ/จำนวนผู้ป่วยทั้งหมด
โรงพยาบาลหาดใหญ่ ปี 2551 ผู้ป่วยใน(รับไว้รักษาในโรงพยาบาล) โรงพยาบาลหาดใหญ่ ปี 2551 ผู้ป่วยใน(รับไว้รักษาในโรงพยาบาล) 2,542 ราย เฉลี่ย 212 ราย/เดือน จำแนก : ชาย 70% (1,770/2,542) หญิง 30% (772/2,542) รถจักรยานยนต์ 78% (1,990/2,542) รถจักรยานยนต์ ชาย 68% (1,359/1,990) อายุ < 35 ปี 67% (1,707/2,542) อายุ > 45 ปี 17% (443/2,542) หมายเหตุ : ไม่มีข้อมูลของผู้ป่วยรับไว้รักษาแล้วเสียชีวิต
ผู้ป่วยใน ปี 2551 : ชาย/หญิง/เดือน จำนวน ข้อคิดเห็น : ชายมีสัดส่วนสูงกว่าหญิงมาก สัดส่วนชายต่อเดือน ระหว่าง 65% (ก.ย.)-77% (ก.ค.) เฉลี่ย = 70% หมายเหตุ : % = จำนวนชายของเดือน/จำนวนผู้ป่วยของเดือนนั้น
ผู้ป่วยใน ปี 2551 : จยย.ชาย/จยย.ทั้งหมด จำนวน ข้อมูล : สัดส่วนจยย.ของเดือนต่อผู้ป่วยรายเดือนในเดียวกัน ระหว่าง 70% (กย.)-87% (เมย.) เฉลี่ย = 78% สัดส่วนจยย.ชายของเดือนต่อจยย.ของเดือนในเดียวกัน ระหว่าง 50% (ธค.)-77% (กค.) เฉลี่ย = 68%
ผู้ป่วยใน ปี 2551 : อายุ หญิง/ชาย/จำนวน ข้อคิดเห็น : ชายมีสัดส่วนสูงกว่าหญิง 2 เท่า ยกเว้นกลุ่มอายุระหว่าง 15-25 ปี ชายมีสัดส่วนสูงกว่าหญิง 3 เท่า หมายเหตุ % = จำนวนของอุบัติการณ์ตามช่วงอายุ/จำนวนผู้ป่วยทั้งหมด
รพ. หาดใหญ่ รพ. สงขลา และรพ รพ.หาดใหญ่ รพ.สงขลา และรพ.สงขลานครินทร์ ผู้ป่วยทั้งหมดปี 2551 : เปรียบเทียบข้อมูลรายเดือน โรงพยาบาลหาดใหญ่ 6,969 ราย เฉลี่ย 581 ราย/เดือน จักรยานยนต์ 80% (5,597/6,969) โรงพยาบาลสงขลา 4,305 ราย เฉลี่ย 359 ราย/เดือน จักรยานยนต์ 81% (3,497/4,305) โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ 3,981 ราย เฉลี่ย 332 ราย/เดือน จักรยานยนต์ 78% (3,1096/3,981)
เปรียบเทียบผู้ป่วยทั้งหมด ปี 2551 : รพ. หาดใหญ่ รพ. สงขลา รพ เปรียบเทียบผู้ป่วยทั้งหมด ปี 2551 : รพ.หาดใหญ่ รพ.สงขลา รพ.สงขลานครินทร์ %ของค่าเฉลี่ยต่อเดือน ข้อคิดเห็น : เดือนพฤศจิกายน มีสัดส่วนผู้ป่วยค่อนข้างต่ำทั้ง 3 โรงพยาบาล หมายเหตุ : % = จำนวนผู้ป่วยของเดือน/จำนวนค่าเฉลี่ยต่อเดือนของโรงพยาบาล เดียวกัน
เปรียบเทียบบาดเจ็บจากรถจักรยายนต์ทั้งหมด ปี 2551 : รพ. หาดใหญ่ รพ เปรียบเทียบบาดเจ็บจากรถจักรยายนต์ทั้งหมด ปี 2551 : รพ.หาดใหญ่ รพ.สงขลา รพ.สงขลานครินทร์ % ของค่าเฉลี่ยต่อเดือน หมายเหตุ : % = บาดเจ็บจากรถจักรยานยนต์ทั้งหมดรายเดือน/จำนวนค่าเฉลี่ยต่อเดือน ของโรงพยาบาลเดียวกัน
สรุป กลุ่มเสี่ยง : เพศชาย 7 ใน 10 ราย ของผู้บาดเจ็บต้องรับไว้รักษาต่อในโรงพยาบาล เป็นชาย กลุ่มเสียง : รถจักรยานยนต์ 7 ถึง 8 ใน 10 ราย ของผู้บาดเจ็บมาจากรถจักรยานยนต์ กลุ่มเสี่ยง : อายุ < 35 ปี 7 ใน 10 ราย บาดเจ็บที่ต้องรับไว้รักษาต่อในโรงพยาบาล 8 ใน 10 ราย บาดเจ็บที่รักษาแล้วกลับบ้าน