เคมีอินทรีย์ บทนำ ผศ. ดร. วราภรณ์ พาราสุข

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เคมีอินทรีย์ AOIJAI WICHAISIRI.
Advertisements

หลักการทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
STEREOCHEMISTRY STEREOCHEMISTRY
ไฮบริไดเซชัน (Hybridization)
การเรียกชื่อตามระบบ IUPAC
sp2 Hybridization ของ CH2=CH2 (Ethylene)
การศึกษาโครงสร้างในแบบ 3 มิติ ว่า อะตอมต่างๆมีการจัดเรียงตัวในที่ว่าง
sp Hybridization ของ HC CH (Acetylene)
sp3 Hybridization of CH3CH3 (Ethane)
Imidazole จึงเป็นสารประกอบอะโรมาติก
sp3 Hybridization of CH4 (Methane)
เฉลยการบ้าน Stereochemistry
โครงสร้างทางอิเล็กตรอนของโมเลกุล และชนิดของ Transitions
กรด-เบส (acid-base) คริษฐา เสมานิตย์.
สรุป ทฤษฎี MOT : เป็นการสร้าง orbs ของ โมเลกุลขึ้นมาโดยใช้ valence AO’s ทั้งหมดของอะตอมในโมเลกุล, จำนวน MO’s ทั้งหมดที่ได้ = จำนวน AO’s ที่นำมาใช้ แต่ละ.
ทฤษฎีโมเลกุลาร์ออร์บิทัล, MOT
Molecular orbital theory : The ligand group orbital
Hybridization = mixing
เคมีอินทรีย์ แอลคีน ผศ. ดร. วราภรณ์ พาราสุข
เคมีอินทรีย์ กรดคาร์บอกซิลิก (carboxylic acid)
ผศ. ดร. วราภรณ์ พาราสุข ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์
บทที่ 1 บทนำ Dulyachot Cholaseuk Mechanical Engineering Department
Intermolecular Forces
H2O H2O H2O ความสำคัญของน้ำ H2O H2O.
Polymer พอลิเมอร์ (Polymer) คือ สารประกอบที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่ และมีมวลโมเลกุลมากประกอบด้วยหน่วยย่อยที่เรียกว่า มอนอเมอร์มาเชื่อมต่อกันด้วยพันธะโคเวเลนต์
หลักการทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
กรดนิวคลีอิก (Nucleic acid)
สารอนินทรีย์ (Inorganic substance)
พันธะเคมี Chemical bonding.
เลขควอนตัม (Quantum Numbers)
หลักการทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
Chemical Bonding I: Basic Concepts
Ecology นิเวศวิทยา Jaratpong moonjai.
เคมีอินทรีย์ แอลไคน์ และแอลคาไดอีน
เคมีอินทรีย์ ฟีนอล และแอริลเฮไลด์
เคมีอินทรีย์ สารประกอบอะโรมาติก aromatic compounds
ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร
กำหนดการสอน วิชาเคมี ว30221
แบบฝึกหัด.
พันธะโคเวเลนต์ ความยาวพันธะ พลังงานพันธะ.
พื้นฐานทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
พื้นฐานทางเคมีของชีวิต
Amines NH3 H-O-H [NH4]+ [OH]- เอมีนหรืออะมีนเป็นสารอินทรีย์ที่ N-atom
ว เคมีพื้นฐาน พันธะเคมี
Valent Bond Theory (VBT) ครูวิชาการสาขาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
ครูวิชาการสาขาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
Naming and Physical & Chemical Properties of Organic Chemistry
Part4 : Alcohols and Reaction of Alcohols
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเคมีประยุกต์
บทที่ 4 Aromatic Hydrocarbons
บทที่ 9 Amines.
บทที่ 5 Alkyl Halides.
บทที่ 1 Introduction.
โมเลกุล เซลล์ และ ออร์กาเนลล์ (Molecules Cells and Organelles)
ประเภทของสารประกอบอินทรีย์
Alkyl halide Alkyl halide หรือ Aryl halide มีสูตรทั่วไป คือ R - X หรือ Ar - X มีความสำคัญในด้านต่าง ๆ เช่น ใช้เป็นยาฆ่าแมลง ยาปฏิชีวนะ.
สารอินทรีย์และการเรียกชื่อ
สารประกอบ.
ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
โดย คุณครูพัชรี ลิ้มสุวรรณ
Position Isomerism Functional Isomerism Geometric Isomer
เคมี ม.6 ว30225 เคมีอินทรีย์ (Organic Chemistry)
ไอโซเมอริซึม (Isomerism)
โครงสร้างอะตอม พื้นฐานทฤษฎีอะตอม แบบจำลองอะตอมของ John Dalton
หมู่ฟังก์ชัน (Functional Group)
กรดไขมัน กรดไขมันอาจมีอยู่เป็น องค์ประกอบของลิพิดต่างๆ หรืออยู่ในรูปอิสระ โดยทั่วไปกรดไขมันจาก ธรรมชาติ มีแกนโมเลกุลเป็น คาร์บอน จำนวนเป็นคู่ เรียง.
พันธะเคมี.
ประเภทของสารประกอบอินทรีย์
ชื่อ คาร์โบไฮเดรต (Carbohydrate), แซคคาไรด์ (Saccharide) ซึ่งจริงๆ แล้วเป็นชื่อเรียกรวมๆ ของกลุ่มของสารเคมีชนิดหนึ่งที่มีอยู่ในสิ่งมีชีวิตทุกชนิด สารเคมีในกลุ่มนี้มีหลายชนิด.
JIRAT SUKJAILUA Science Department Maechai Wittayakom school
ใบสำเนางานนำเสนอ:

403221 เคมีอินทรีย์ บทนำ ผศ. ดร. วราภรณ์ พาราสุข ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 403221-introduction

กำเนิดอินทรีย์เคมี ศตวรรษที่ 18 ปี 1828 F. Woehler organic chemistry -สารเคมีจากธรรมชาติ, สิ่งมีชีวิต inorganic chemistry -สารเคมีจากสิ่งไม่มีชีวิต, สินแร่ ปี 1828 F. Woehler 403221-introduction

เคมีอินทรีย์ ความสำคัญของสารอินทรีย์ ผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ อาหาร ยา สมุนไพร สีย้อม ยาง สารที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการในสิ่งมีชีวิต อุตสาหกรรมปิโตรเคมี เกษตร เคมีภัณฑ์ เภสัชกรรม การแพทย์ 403221-introduction

ความสำคัญของธาตุคาร์บอน องค์ประกอบหลักของสิ่งมีชีวิต สร้างพันธะโควาเลนท์ที่แข็งแรงกับอะตอมคาร์บอนอื่น สามารถสร้างพันธะเดี่ยว พันธะคู่ พันธะสาม สร้างพันธะโควาเลนท์กับอะตอมชนิดอื่น เกิดสารประกอบมากมายหลายชนิด 403221-introduction

Atomic Orbitals ของคาร์บอน 403221-introduction

การจัดอิเล็กตรอนใน Atomic Orbitals 2p Valence electron 2s 1s C N O 403221-introduction

sp3-hybridization Carbon 2p sp3 4 orbitals 2s 1s 403221-introduction

sp3-hybridization 403221-introduction

403221-introduction

พันธะใน methane, ethane 403221-introduction

sp3-hybridization Nitrogen Oxygen 2p sp3 2s 1s 4 orbitals 403221-introduction

พันธะใน methanol (CH3OH) 403221-introduction

พันธะซิกมา (sigma, s-bond) head on overlap s-s orbital p-p orbital 403221-introduction

พันธะไพ (pi, p-bond) side by side overlap การซ้อนทับด้านข้างของออร์บิทัล p อิเล็กตรอนในพันธะไพ เรียกว่า p-electron 403221-introduction

sp2-hybridization Carbon 2p 2p sp2 2s 1s 3 orbitals 403221-introduction

sp2-hybridization 403221-introduction

พันธะใน ethene (C2H4) 403221-introduction

sp2-hybridization Nitrogen Oxygen 2p 2p sp2 2s 1s 3 orbitals 403221-introduction

พันธะใน formaldehyde และ acetaldehyde CH2O acetaldehyde CH3CHO 403221-introduction

sp-hybridization Carbon 2p 2p sp 2 orbitals 2s 1s 403221-introduction

sp-hybridization 403221-introduction

พันธะใน ethyne (C2H2) 403221-introduction

sp-hybridization Nitrogen Oxygen 2p 2p sp 2s 1s 2 orbitals No sigma bond 1s 403221-introduction

พันธะใน CH3CN และ allene Allene CH2=C=CH2 403221-introduction

เปรียบเทียบโครงสร้างของ ethyne ethene ethane 403221-introduction

การเขียนสูตรโครงสร้างของสารอินทรีย์ Lewis Structure Condensed Structure Line-angle Structure 403221-introduction

polar and non-polar molecules polar covalent bond พันธะระหว่างอะตอมที่มีค่า Electronegavity (EN) ต่างกัน polar and non-polar molecules polar m = 1.87 non-polar m = 0 403221-introduction

แรงระหว่างโมเลกุล แรงไดโพล (dipole-dipole interaction) -โมเลกุลมีขั้ว แรง Van der Waals -โมเลกุลไม่มีขั้ว -ขนาดของแรงเพิ่มขึ้นตามน้ำหนักโมเลกุล 403221-introduction

-ไฮโดรเจนที่สร้างพันธะกับอะตอมที่มีค่า EN. สูง เช่น O, N, halogen พันธะไฮโดรเจน -ไฮโดรเจนที่สร้างพันธะกับอะตอมที่มีค่า EN. สูง เช่น O, N, halogen - พันธะไฮโดรเจนแข็งแรงกว่าแรงไดโพล 403221-introduction

การแบ่งประเภทสารอินทรีย์ แบ่งตามหมู่ฟังก์ชัน 403221-introduction

403221-introduction

403221-introduction

403221-introduction

403221-introduction

การแบ่งประเภทสารอินทรีย์ แบ่งตามโครงสร้าง สารประกอบแบบโซ่เปิด (open-chained) มีโครงสร้างเป็นโซ่ยาว หรือโซ่กิ่ง ไม่มีลักษณะเป็นวงเช่น CH3CH2CH2CH3 สารประกอบไซคลิก (cyclic) มีโครงสร้างเป็นวง 403221-introduction

สารประกอบไซคลิก (cyclic) แบ่งตามชนิดของพันธะในวงเป็น 2 ชนิดคือ อะลิไซคลิก (alicyclcic) วงที่มีแต่พันธะเดี่ยวหรือมีพันธะคู่อยู่ห่างกันมากกว่า 1 พันธะ แอโรมาติก (aromatic) เป็นวงที่มีพันธะคู่สลับกับพันธะเดี่ยว มีจำนวนอิเลกตรอนพายซึ่งอยู่ในระนาบเดียวกันจำนวน 4n+2 เมื่อ n เป็นเลขจำนวนเต็ม alicyclcic aromatic 403221-introduction

การจำแนกชนิดของอะตอมคาร์บอนและไฮโดรเจน์ ชนิดของอะตอมคาร์บอนสามารถจำแนกเป็น ปฐมภูมิ (primary, 1o) มีคาร์บอนอื่นต่ออยู่ 1 อะตอม ทุติยภูมิ (secondary, 2o) มีคาร์บอนอื่นต่ออยู่ 2 อะตอม ตติยภูมิ (tertiary, 3o) มีคาร์บอนอื่นต่ออยู่ 3 อะตอม จตุรภูมิ (quarternary, 4o) มีคาร์บอนอื่นต่ออยู่ 4 อะตอม 403221-introduction

ชนิดของอะตอมไฮโดรเจน ตัวอย่างคาร์บอนชนิดต่างๆ CH3-CH2-CH3 1o 2o 1o ชนิดของอะตอมไฮโดรเจน จำแนกเป็นชนิดปฐมภูมิ, ทุติยภูมิและตติยภูมิ ตามชนิดของคาร์บอนที่อะตอมไฮโดรเจนนั้นต่ออยู่ 403221-introduction

ไอโซเมอร์ (isomer) คือสารที่มีสูตรโมเลกุลเหมือนกัน Structural isomer = constitutional isomer -ลำดับการต่อของอะตอมต่างกัน (connectivity) -สูตรโครงสร้างต่างกัน 403221-introduction

-สูตรโครงสร้างเหมือนกัน -การจัดวางอะตอมในที่ว่าง (space) ต่างกัน Stereoisomer -สูตรโครงสร้างเหมือนกัน -การจัดวางอะตอมในที่ว่าง (space) ต่างกัน 403221-introduction