งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

พันธะเคมี.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "พันธะเคมี."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 พันธะเคมี

2 พันธะเคมี ก็คือ ….. แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอะตอมภายในโมเลกุล
พันธะเคมี ก็คือ ….. แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอะตอมภายในโมเลกุล แบ่งเป็น 1. พันธะโคเวเลนต์ (Covalent bond) 2. พันธะไอออนิก (Ionic bond) 3. พันธะโลหะ (Matallic bond)

3 แบบจำลองโครงสร้างของโลหะ

4 พันธะโลหะ คือ แรงดึงดูดระหว่างไอออนบวกที่เรียงชิดกันกับอิเล็กตรอนที่อยู่โดยรอบ
แบบจำลองทะเลอิเล็กตรอน (electron sea model)

5 ทำไมอิเล็กตรอนของโลหะถึงเคลื่อนที่ได้ตลอดเวลา?
แบบจำลองทะเลอิเล็กตรอน (electron sea model)

6 โลหะมีค่าพลังงานไอออไนเซซันที่ต่ำ ดังนั้นจึงยึดอิเล็กตรอน วงนอกสุดไว้อย่างหลวมๆ ทำให้อิเล็กตรอนเหล่านี้เคลื่อนที่ไปมา รอบๆโลหะตลอดเวลา อิเล็กตรอนเหล่านี้ทำหน้าที่คล้ายกาวที่ช่วยยึดไอออนบวกให้อยู่ในตำแหน่งที่คงที่ ไว้ด้วยกันอย่างแข็งแรง ความแข็งแรงของพันธะโลหะขึ้นอยู่กับจำนวนอิเล็กตรอน อิสระและขนาดของไอออนบวก

7 พันธะโลหะกับสมบัติบางประการของโลหะ
1. นำไฟฟ้าและความร้อนได้ดี การที่อิเล็กตรอนสามารถเคลื่อนที่ไปมาในโลหะได้ ทำให้โลหะมีคุณสมบัติเป็นตัวนำความร้อนและไฟฟ้าที่ดี

8 พันธะโลหะกับสมบัติบางประการของโลหะ (ต่อ)
2. สามารถตีเป็นแผ่นหรือดึงเป็นเส้นได้

9 พันธะโลหะกับสมบัติบางประการของโลหะ(ต่อ)
3. มีผิวเป็นมันวาว ผิวหน้าของโลหะเป็นมันวาว เนื่องจากอิเล็กตรอนอยู่ไม่ประจำที่และเคลื่อนที่ได้อย่างอิสระจะสามารถดูดกลืน และกระจายแสงได้ จึงทำให้โลหะสามารถสะท้อนแสงได้

10 พันธะโลหะกับสมบัติบางประการของโลหะ(ต่อ)
4. มีจุดหลอมเหลวสูง เนื่องจากพันธะโลหะเป็นพันธะที่แข็งแรง เกิดจากแรงยึดเหนี่ยวระหว่างเวเลนซ์อิเล็กตรอนอิสระทั้งหมดกับไอออนบวก

11 พันธะไอออนิก

12

13

14

15

16 การเกิด MgCl2 1 โมล มีการเปลี่ยนแปลง 6 ขั้นตอนดังนี้
1. Mg (s) Mg (g) E1 = kJ 2. Mg (g) Mg+ (g) + e E2 = kJ 3. Mg+(g) Mg2+ (g) + e E3 = 1,451 kJ 4. Cl2(g) Cl (g) E4 = kJ 5. Cl(g) + e Cl- (g) E5 = kJ 6. Mg2+(g) + 2Cl- (g) MgCl2 (s) E6 = 2,526 kJ รวมสมการ Mg(s) + Cl2 (g) MgCl2 1 โมล คำนวณได้ดังนี้

17

18

19

20

21

22 ไอออนิกของแข็ง ไอออนิกหลอมเหลว ไอออนิกสารละลาย 4.1

23 ทำไมไอออนิกถึงเปราะ แตกหักง่าย

24

25

26 พันธะโควาเลนต์

27

28

29

30

31

32

33

34

35

36

37

38

39

40

41

42

43

44

45

46

47

48

49

50

51

52

53

54

55

56

57

58

59

60

61 PAT 2 Oct’52

62 PAT 2 Oct’52

63 pat2 มีนา 54

64

65 pat2 มีนา 53

66 pat2 กรกฎา 53

67

68

69

70 สภาพขั้วขึ้นอยู่กับค่า .................

71

72

73

74 แรงระหว่างอนุภาค สาเหตุการเกิด อนุภาคที่เกิด 1. แรงแวนเดอร์วาล 2. แรงลอนดอน 3.แรงระหว่างขั้ว (dipole-induced dipole)เหนี่ยวนำ 4. แรงระหว่างขั้ว (dipole-dipole)

75 แรงระหว่างอนุภาค สาเหตุการเกิด อนุภาคที่เกิด 5. พันธะไฮโดรเจน 6.แรงดึงดูดของพันธะโลหะ


ดาวน์โหลด ppt พันธะเคมี.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google