งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

หลักการทางเคมีของสิ่งมีชีวิต

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "หลักการทางเคมีของสิ่งมีชีวิต"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 หลักการทางเคมีของสิ่งมีชีวิต

2 The hierarchy of biological order from atom to organism

3 สสารต่างๆในธรรมชาติประกอบด้วยธาตุ
+ Sodium Chlorine Sodium chloride The sodium metal combines with the poisonous gas chlorine to form the edible compound sodium chloride, or table salt.

4 ธาตุที่มีความจำเป็นต่อสิ่งมีชีวิตมีมากกว่า 25 ชนิด แต่มีเพียง 4 ชนิดนั้นที่เป็นองค์ประกอบหลัก ได้แก่
Carbon ( C) Hydrogen (H) Oxygen (O) Nitrogen (N) (มากกว่า 95 % ของน้ำหนักตัว)

5

6 ธาตุเหล่านี้ล้วนมีความจำเป็นต่อสิ่งมีชีวิตทั้งสิ้น ถ้าขาดธาตุใดธาตุหนึ่งอาจทำให้เกิดความผิดปกติและอาจถึงตายได้ The effect of nitrogen deficiency in corn Goiter, iodine deficiency

7 โครงสร้างอะตอม อะตอมเป็นโครงสร้างที่เล็กที่สุดของธาตุที่มีสมบัติเฉพาะตัวของธาตุหนึ่งๆ โครงสร้างอะตอมประกอบด้วยอนุภาคหลัก คือ โปรตอน (Proton) อีเล็กตรอน (Electron) และ นิวตรอน (Neutron)

8 Helium (He) atom อะตอมของธาตุฮีเลียม (He) มี proton และ neutron อย่างละ 2 อนุภาคอยู่ในนิวเคลียส และ electron 2 อนุภาควิ่งอยู่รอบนอก

9 ที่เรียนในชั้นมัธยมปลายแล้วด้วยตนเอง
อะตอมของธาตุแต่ละธาตุมีจำนวนอนุภาคต่างๆไม่เท่ากัน ให้นิสิตทบทวน เรื่อง ธาตุ และ อะตอม ที่เรียนในชั้นมัธยมปลายแล้วด้วยตนเอง

10 Isotopes ธาตุบริสุทธิ์ในธรรมชาติ ประกอบด้วยอะตอมที่มีจำนวน proton เท่ากัน แต่มีจำนวน neutron ในนิวเคลียสไม่เท่ากัน อะตอมเหล่านี้มีคุณสมบัติทางเคมีเหมือนกัน เรียกอะตอมเหล่านี้ว่า Isotopes ตัวอย่างเช่น C ประกอบด้วย isotopes ต่างกัน 3 ชนิด ได้แก่ C , C , C 12 6 13 14

11 14 6 C เกิดการปลดปล่อยพลังงานหรืออนุภาคออกมาตลอดเวลา หรือมีการสลายตัว เรียก isotope ที่สลายตัวได้ว่า radioactive isotope (สารกัมมันตรังสี) Radioactive isotope ของธาตุแต่ละชนิดมีค่าครึ่งชีวิต (half life) เฉพาะตัว นักวิทยาศาสตร์จึงใช้ radioactive isotope ในการหาอายุของซากสิ่งมีชีวิตได้

12 Using radioactive isotopes to study cell chemistry

13 The PET scan, a medical use for radioactive isotopes

14 ให้นิสิตทบทวนรายละเอียดด้วยตนเอง
การรวมกันของอะตอมเป็นโมเลกุล ด้วยแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอะตอมวิธีต่างๆ หรือด้วย chemical bond ต่างๆ ได้แก่ Covalent bond Hydrogen bond Ionic bond Van der Waals interaction Hydrophobic interaction ให้นิสิตทบทวนรายละเอียดด้วยตนเอง

15 Covalent bond Covalent bond มีความแข็งแรงมาก ต้องใช้ความร้อนสูงจึงจะทำลายพันธะนี้ได้

16 Hydrogen bond เป็นพันธะที่เกิดจากอะตอมของ H+ ที่เกิดพันธะกับอะตอมที่มีค่า electronegativity สูง ทำให้อะตอมของ H+ มีประจุเป็นบวกน้อยๆ และพร้อมที่จะเกิดแรงดึงดูดกับอะตอมที่มีค่า electronegativity สูงในโมเลกุลอื่นๆที่มีประจุเป็นลบน้อยๆ เช่น โมเลกุลของน้ำ

17 Polar covalent bonds in a water molecule
H2O

18 Ionic bond Ionic bond แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอะตอมเป็นผลมาจากแรงดึงดูดของประจุ ดังนั้นพันธะชนิดนี้มีความแข็งแรงมาก/น้อยขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อมของโมเลกุล ตัวอย่างเช่น โมเลกุลของ NaCl ในตัวกลางที่เป็นน้ำ ionic bond ถูกทำลายได้ง่าย เนื่องจากขั้วของโมเลกุลของน้ำไปรบกวนแรงดึงดูดของประจุ

19 Electron transfer and ionic bonding
A sodium chloride crystal

20 A hydrogen bond

21 Van der Waals interaction
Ionic bond Hydrogen bond เป็น bond ที่มีความแข็งแรงน้อย แต่มีความสำคัญมากในสิ่งมีชีวิต เนื่องจากทำให้สารโมเลกุลขนาดใหญ่ เช่น Protein และ Nucleic acid สามารถคงรูปของโครงสร้างอยู่ได้

22 ความสำคัญของน้ำ

23 Hydrogen bonds between water molecules
แต่ละโมเลกุลของน้ำสามารถสร้าง H-bond กับโมเลกุลของน้ำใกล้เคียงได้สูงสุดถึง 4 bonds การที่น้ำมี H-bond เป็นจำนวนมากนี้เอง ทำให้น้ำมีคุณสมบัติเฉพาะต่างจากของเหลวอื่นๆ

24 Water transport in plants

25 Walking on water Evaporative cooling

26 Oceans and lakes don’t freeze solid because ice floats

27 A crystal of table salt dissolving in water
น้ำเป็นตัวทำลายที่ดี โดยเฉพาะอย่างยิ่งสารประกอบที่มีขั้วหรืออิออนที่มีประจุ A crystal of table salt dissolving in water

28 A water-soluble protein

29 ความสำคัญของ carbon สารอินทรีย์ (organic molecules) ต่างๆในสิ่งมีชีวิต เป็นสารที่มี Carbon เป็นองค์ประกอบแกนกลาง

30 สาเหตุที่ Carbon สร้างสารประกอบต่างๆได้หลากหลาย เพราะ อะตอมของ Carbon สามารถสร้าง covalent bond ได้ถึง 4 bonds

31 The shapes of three simple organic molecules

32 Covalent bond ที่เกิดขึ้น อาจต่อกับอะตอมของ Carbon ให้เป็นโมเลกุลของสารที่เป็นสายยาว หรือแตกเป็นกิ่ง หรือต่อเป็นวงแหวนก็ได้ ทำให้เกิดเป็นสารประกอบชนิดต่างๆที่มีสมบัติแตกต่างกัน

33 Variations in carbon skeletons

34 สารบางชนิดอาจมีสูตรโมเลกุลเหมือนกันแต่มีการเรียงตัวของอะตอมแตกต่างกัน และมีสมบัติทางเคมีและชีววิทยาแตกต่างกัน เรียกสารเหล่านี้ว่า Isomer

35 Three types of isomers

36 นอกจากนี้ functional group ก็เป็นส่วนสำคัญของโมเลกุลซึ่งทำให้สารต่างๆมีสมบัติทางเคมีและชีววิทยาแตกต่างกันมากยิ่งขึ้น

37 นอกจากนี้ functional group ก็เป็นส่วนสำคัญของโมเลกุลซึ่งทำให้สารต่างๆมีสมบัติทางเคมีและชีววิทยาแตกต่างกันมากยิ่งขึ้น A comparison of functional groups of female (estradiol) and male (testosterone) sex hormones


ดาวน์โหลด ppt หลักการทางเคมีของสิ่งมีชีวิต

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google