วิวัฒนาการทฤษฎีการจัดการ บทที่ 2 วิวัฒนาการทฤษฎีการจัดการ
กำแพงเมืองจีน พีระมิด
แบ่งออกเป็น 4 แนวทาง 1. Classical Approaches to Management 2. Behavioral Approaches to Management 3. Quantitative Approaches to Management 4. Modern Approaches to Management
การจัดการแบบคลาสสิก (Classical Approaches to Management) Scientific Management Bureaucratic Management Administrative Principles
การจัดการเชิงวิทยาศาสตร์ (Scientific Management) 1.1 แนวคิดของ Frederick Winslow Taylor 1.2 แนวคิดของ Frank &Lillian Gilbreth
1.1 แนวคิดของ Frederick W. Taylor 1856-1915 หลักวิทยาศาสตร์ประยุกต์ในการจัดการและพัฒนาคนงานให้ใช้ความสามารถในการทำงานได้อย่างสูงสุด เพื่อสร้างผลผลิตและความมั่งคั่งให้แก่องค์การ Frederick W. Taylor
พัฒนาหลักการ 4 ข้อ 1. งานทุกงานจะต้องทำงานตามวิธีทำงาน 2. มีหลักเกณฑ์ในคัดเลือกคนงานชัดเจน 3. คนงานต้องได้รับการอบรมก่อนทำงาน 4. ฝ่ายบริหารต้องควบคุมดูแลและร่วมมือกับพนักงานปฏิบัติงาน
1.2 แนวคิดของ Frank&Lillian Gilbreth การศึกษาเวลาและการเคลื่อนไหว (Time and Motion Study) เพื่อออกแบบการทำงานและระบบการทำงานที่มีประสิทธิภาพ กำหนดมาตรฐานงานและแผนการจ่ายค่าจ้าง Frank (1868-1924) Lillian ( 1878-1972)
การจัดการแบบราชการ (Bureaucratic Management) นักสังคมวิทยาชาวเยอรมัน ให้ความสนใจศึกษาและพยายามพัฒนาแนวความคิดเกี่ยวกับระบบโครงสร้างอำนาจหน้าที่ภายในองค์การ Max Weber 1864-1920
ลักษณะระบบราชการ มีการแบ่งงานกันทำอย่างชัดเจน มีสายการบังคับบัญชาลดหลั่นกันลงมา(Hierarchy of authority) มีระเบียบและกฎเกณฑ์อย่างเป็นทางการ ไม่มีความเป็นส่วนตัว การก้าวหน้าในอาชีพการงานยึดถือหลักคุณธรรม
การจัดการตามหลักการบริหาร (Administrative Management) แนวคิดของ Henri Fayol 1841-1925 วิศวกรและนักบริหาร อุตสาหกรรมชาวฝรั่งเศส ให้หลักการและข้อคิดสำคัญเกี่ยวกับการบริหารอย่างเป็นรูปธรรม การจัด กิจกรรมการบริหารจากมุมมองของผู้บริหาร มิใช่ระบบปฏิบัติการ
POCCC Planning Organization Commanding Coordinating Controlling
Luther Gulick 1892 – 1992 POSDCORB MODEL
POSDCORB MODEL Planning Organizing Staffing Directing, Co-ordinating Reporting Budgeting
การจัดการเชิงพฤติกรรม (Behavioral Approaches to Management) ทฤษฎีลำดับขั้นความต้องการ ทฤษฎี X และทฤษฎี Y
ทฤษฎีลำดับขั้นความต้องการ Abraham Maslow’s Need theory 1908-1970 1. Physiological needs 2. Safety and security needs 3. Social needs 4. Esteem needs 5. Self - actualization needs
Douglas McGregor. 1906- 1964 Theory X Theory Y
Douglas McGregor. ทฤษฎี X ไม่ชอบทำงาน ขาดความกระตือรือร้น ขาดความรับผิดชอบ ต่อต้านการเปลี่ยนแปลง ต้องมีคนอื่นควบคุมจึงจะทำงาน ทฤษฎี Y ชอบทำงาน มีเป้าหมายและกระตือรือร้น มีความรับผิดชอบ ชอบคิดริเริ่มใหม่ๆ และสร้างสรรค์ ควบคุมตัวเองได้
การศึกษาการจัดการเชิงปริมาณ (Quantitative Approaches to Management) วิทยาการจัดการหรือการวิจัยเชิงปฏิบัติการ (Management Scienceหรือ Operation Research) การจัดการด้านการดำเนินงาน (Operation Management) ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (Management Information System)
แนวคิดเรื่องการจัดการสมัยใหม่ (Modern Approaches to Management) 1. การจัดการและการคิดอย่างเป็นระบบ (System Thinking and Management) 2. การจัดการเชิงสถานการณ์ (Contingency Management) 3. การรื้อปรับระบบ (Reengineering) 4. องค์การเรียนรู้และการจัดการความรู้ (Learning Organization and Knowledge Management)