งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การจัดการและแนวความคิดทางการจัดการ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การจัดการและแนวความคิดทางการจัดการ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การจัดการและแนวความคิดทางการจัดการ
(Management & Management Thought)

2 การบริหาร VS การจัดการ
(Administration VS Management) การบริหาร (Administration) เป็นกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับการกำหนดนโยบายและแผนงาน ตลอดจนการกำกับดูแลเพื่อให้แน่ใจว่า ความสำเร็จที่เกิดขึ้นสอดคล้องกับนโยบายและแผนที่วางไว้

3 การจัดการ (Management)
เป็นกระบวนการของการนำเอานโยบายและแผนงานไปปฏิบัติ ให้บรรลุตามเป้าหมายที่กำหนดในขั้นของการบริหาร

4 ผู้บริหาร Top Manager ผู้จัดการ Middle Manager หัวหน้าคนงาน First Line Manager ลำดับชั้นของการจัดการ

5 ความหมายของการจัดการ
Mary Parker Follett “การจัดการเป็นเทคนิคการทำงานให้สำเร็จ โดยอาศัยผู้อื่น” Ernest Dale “การจัดการ คือ กระบวนการการจัดองค์การและการใช้ทรัพยากรต่างๆ เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่กำหนดขึ้นไว้ล่วงหน้า”

6 สมพงษ์ เกษมสิน “การจัดการเป็นการใช้ศาสตร์และศิลปะนำเอาทรัพยากรการบริหาร มาประกอบตามกระบวนการบริหารเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์อย่างมีประสิทธิภาพ”

7 กระบวนการทางการจัดการ
ทรัพยากร ทางการบริหาร - คน - เงิน - วัสดุ - วิธีการ - เครื่องจักร การจัดองค์การ การวางแผน เป้าหมายขององค์การ การจัดคนเข้าทำงาน การควบคุม การสั่งการ กระบวนการทางการจัดการ

8 ทรัพยากรทางการจัดการ (Management Resources)
เงิน (Money) วัสดุ (Materials) วิธีการบริหาร(Management or Method) เครื่องจักร (Machine) ตลาด (Market)

9 Management Resources

10 การจัดการเป็นศาสตร์ (Science) หรือศิลป์ (Art) ?
การจัดการเป็นทั้งศิลป์ (Art) และศาสตร์ (Science)

11 แนวความคิด ทางการจัดการ (Management Thought)

12 ยุคที่ 1 ยุคก่อนการจัดการแบบวิทยาศาสตร์
(Pre-scientific Management Period)

13 ยุคนี้เป็นยุคก่อนปี ค.ศ. 1880
การจัดการในยุคนี้ต้องอาศัยอำนาจหรือการบังคับ เป็นปัจจัยทางการบริหารที่สำคัญที่สุด วิธีการใช้อำนาจก็ได้แก่ การใช้แส้ โซ่ตรวน การจำคุก ฯลฯ มนุษย์ในยุคนี้ยอมทำงานก็เพราะกลัวการลงโทษ ถูกบังคับด้วยความจำใจ ความสัมพันธ์ภายในหน่วยงานมีลักษณะเป็นนายกับบ่าว กษัตริย์กับทาส ฯลฯ

14 นายกับบ่าว กษัตริย์กับทาส

15 ยุคที่ 2 ยุคการจัดการแบบวิทยาศาสตร์
ยุคที่ 2 ยุคการจัดการแบบวิทยาศาสตร์ (Scientific Management) บุคคลที่มีชื่อเสียงในการบริหารงานยุคนี้ มีอยู่ด้วยกัน 3 คน Robert Owen, Frederick W.Taylor Henri Fayol

16 Robert Owen Owen ให้ความเห็นว่าการปรับปรุงสภาพของ พนักงานหรือคนงานให้ดีขึ้น จะส่งผลไปสู่การเพิ่ม การผลิตและผลกำไร ในขณะที่ผู้บริหารคนอื่นๆมุ่งที่จะใช้ เงินลงทุนไปในการปรับปรุงเทคนิคการผลิตมากกว่า

17 Frederick Winslow Taylor (The Father of Scientific Management)

18 The Midvale Steel Company ในเมือง Bethlehem มลรัฐเพนซิลวาเนีย
Taylor คัดค้านการบริหารงานแบบเก่าที่ใช้ “อำนาจ” (Power) Taylor ไม่พอใจในการบริหารงานที่ขาดประสิทธิภาพ

19 Taylor ได้เสนอวิธีแสวงหาหลักเกณฑ์ที่ดีไว้ ดังนี้
1. ศึกษาว่างานแต่ละขั้นตอนนั้นต้องใช้เวลา (Time) อย่างน้อยที่สุดเท่าไร จึงจะสามารถทำให้สำเร็จลงได้ 2. ศึกษาเกี่ยวกับการเคลื่อนไหว (Motion) ในการทำงาน แต่ละขั้นเพื่อปรับปรุงวิธีการทำงาน เพื่อหาทางทำงานให้ สำเร็จโดยใช้พลังงานให้ประหยัดที่สุดเท่าที่จะทำได้ 3. แบ่งงานออกตามขั้นตอน เพื่อให้คนงานได้ทำงานในขั้นตอนที่ เขาสามารถทำได้ดีที่สุดมากที่สุด ฯลฯ

20 การจัดการจึงควรต้องเน้นที่การปรับปรุงระบบการผลิต
ที่ผู้บริหารควรจะต้องปฏิบัติดังนี้ วางวิธีการทำงานของแต่ละคนด้วยหลักเกณฑ์ที่ทดลอง แล้วว่า เป็นวิธีที่ดีที่สุด (One best way) มีระบบการคัดเลือกบุคคลและจัดบรรจุบุคคลเข้า วิทยาศาสตร์สมัยใหม่

21 4. ผู้บริหารจะต้องรับผิดชอบงานด้านการวางแผนงาน
ให้ความร่วมมือกับคนงานเสมอและคำนึงถึงว่าการทำงาน ที่มีประสิทธิภาพ 4. ผู้บริหารจะต้องรับผิดชอบงานด้านการวางแผนงาน

22 A Piece Rate System หลักการของการกำหนดค่าจ้างตามวิธีการนี้ได้แบ่งอัตรา
ค่าจ้างเป็น 2 แบบคือ 1. อัตราหนึ่งใช้สำหรับผลผลิตที่ยังไม่ถึงมาตรฐาน 2. อีกอัตราหนึ่งจะใช้กับระดับผลผลิตที่เท่ากับหรือ สูงกว่ามาตรฐาน

23 ตัวอย่างเช่น มาตรฐานกำหนดให้คนงานต้องผลิตสินค้าได้วันละ 100 หน่วย (การกำหนดมาตรฐานต้องศึกษามาจาก Time and Motion Study) อัตราค่าจ้างหน่วยละ 1.20 บาท สำหรับระดับการผลิตตั้งแต่ 0-99 หน่วย แต่ในกรณีที่คนงานผลิตได้ตั้งแต่ 100 หน่วย หรือมากกว่า อัตราค่าจ้างต่อหน่วยจะเท่ากับ 1.35 บาท ดังนั้น ถ้าคนงานผลิตสินค้าได้ 99 หน่วย เขาจะได้ผลตอบแทน บาท (99x1.20)และในกรณีที่คนงานอีกคนหนึ่งผลิตสินค้าได้ 100 หน่วย เขาจะได้ผลตอบแทน 135 บาท (100x1.35)

24 ค.ศ. 1903 Taylor ได้เขียนหนังสือเรื่อง
“Shop Management” ปี ค.ศ ได้เขียนหนังสือซึ่งได้รับความนิยมสูงสุดของเขาคือ “The Principles of Scientific Management”

25 1. การขนแร่เหล็ก 2. การทดลองตักวัตถุ
ตัวอย่างการศึกษาถึงหลักการบริหารตามหลัก วิทยาศาสตร์ของ Taylor 1. การขนแร่เหล็ก 2. การทดลองตักวัตถุ

26 การขนแร่เหล็ก การทดลองของ Taylor เป็นเรื่องของการขนแร่เหล็กที่ออกจากเตาหลอมไปยังรถบรรทุกที่บริษัท Bethlehem Steel

27 การทดลองตักวัตถุ การทดลองนี้นำชื่อเสียงมาให้แก่ Taylor อย่างมาก เมื่อ Taylor เข้ามาทำงานที่บริษัท Bethlehem Steel

28 ผู้สนับสนุนแนวความคิดของ Taylor
ก็คือ Hary L. Gantt และสองสามีภรรยา Frank Bunker Gilbreth and Lillian Moller Gilbreth

29 ควรมีการกำหนดผลประโยชน์ตอบแทนพิเศษในรูปของโบนัส
Henry L. Gantt ควรมีการกำหนดผลประโยชน์ตอบแทนพิเศษในรูปของโบนัส สำหรับคนงานที่สามารถทำงานได้ตามที่มอบหมายในแต่ละวัน

30 จัดทำภาพยนตร์แสดงการเคลื่อนไหวของคนงาน
Frank Bunker Gilbreth Lillian Moller Gilbreth จัดทำภาพยนตร์แสดงการเคลื่อนไหวของคนงาน เพื่อชี้ให้แสดงถึงการเคลื่อนไหวที่สูญเปล่า และไม่มีผลทางการผลิต และเคลื่อนไหวที่จำเป็นในการทำงาน ทั้งนี้โดยเรียกความเคลื่อนไหวพื้นฐานนี้ว่า Therblig

31 Henri J. Fayol ความแตกต่างระหว่างการศึกษาของ Fayol และTaylor
ที่ผู้บริหารระดับต่ำหรือคนงาน

32 Fayol ได้แบ่งงานด้านอุตสาหกรรมเป็น 6 กลุ่มด้วยกันคือ 1
Fayol ได้แบ่งงานด้านอุตสาหกรรมเป็น 6 กลุ่มด้วยกันคือ 1. Technical (Production) 2. Commercial (Buying, Selling, and Exchange) 3. Financial (Serch for and Optimum use of persons) 4. Security (Protection of property and persons) 5. Accounting (including statistics) 6. Managerial (planning organizing commanding coordinating and controlling)

33 Fayol ให้ความสนใจในกลุ่มที่ 6 เกี่ยวกับเรื่องการจัดการทั้งนี้เนื่องจากได้มีผู้กล่าวถึง 5 กลุ่มแรกกันมากแล้วและเขาก็ได้เน้นถึงคุณภาพของผู้จัดการที่ดีต้องมีคุณสมบัติดังนี้ 1. ร่างกายที่แข็งแรง (มีสุขภาพอนามัยดี) 2. มีสติปัญญา (มีความสามารถเข้าใจ เรียนรู้ ริเริ่ม ตัดสินใจและปรับตัว) 3. มีจริยธรรม (มีความซื่อสัตย์ รับผิดชอบ รู้จักกาลเทศะ จงรักภักดี) 4. มีการศึกษา (มีความรู้) 5. มีความสามารถและเทคนิควิธีการในการจัดการ 6. มีประสบการณ์

34 Fayol ได้รับการยกย่องว่าเป็นผู้บุกเบิกแนวความคิด
เกี่ยวกับการจัดการเชิงบริหาร (Administrative Management)

35 หน้าที่ของนักบริหาร (Management Functions) มีดังนี้ 1.1 การวางแผน (Planning) 1.2 การจัดองค์การ (Organizing) 1.3 การสั่งการ (Directing) 1.4 การประสานงาน (Coordination) 1.5 การควบคุม (Controlling)

36 หลักการบริหาร (Management Principle) Fayol ได้วางหลักการบริหารงานเพื่อเป็นแนวทางในการปฏิบัติงานของผู้บริหารที่ใช้ได้ทั่วไป 14 ข้อ ดังต่อไปนี้ 1. Division of Work 2. Authority

37 3. Discipline 4. Unity of Command 5. Unity of Direction 6. Subordination of Individual Interest to the General Interest

38 7. Remuneration of Personnel
8. Centralization 9. Scalar Chain 10. Order 11. Equity 12. Stability of Tenture of Personnel

39 Initiative Esprit de Corps

40 ยุคที่ 3 แนวความคิดของมนุษย์สัมพันธ์
ยุคที่ 3 แนวความคิดของมนุษย์สัมพันธ์ (Human Relations)

41 George Elton Mayo Mayo เป็นนักจิตวิทยาชาวออสเตรเลีย เริ่มงานวิชาชีพ ในการสอนจริยธรรม ปรัชญา และตรรกวิทยา ที่มหาวิทยาลัยควีนส์แลนด์

42 “Hawthorne Experiment”
โดยแบ่งการศึกษาทดลองออกเป็น 3 ประเภทใหญ่ๆ คือ Room studies ทำการทดลองระหว่างปี ค.ศ Interviewing studies ทำการทดลองระหว่างปี ค.ศ 3. Observational studies ทำการทดลอง ระหว่างปี ค.ศ

43 การศึกษาทดลองภายในห้อง (Room studies)
1.1 การปรับสภาพความชื้นของอุณหภูมิในห้องให้มีสภาพต่างๆกัน 1.2 จัดให้ทำงานและหยุดเป็นระยะๆ 1.3 เปลี่ยนแปลงการทำงานไม่ให้ทำซ้ำๆซากๆในงานอย่างเดียวกัน นานๆ 1.4 เพิ่มค่าจ้างแรงงานเพื่อเป็นเครื่องจูงใจ 1.5 เปลี่ยนแปลงวิธีการควบคุมงาน

44 2. การศึกษาโดยการสัมภาษณ์ (Interviewing studies)
การทดลองนี้ได้สัมภาษณ์คนงานในโรงงานรวม 2,000 คน จากทุกๆ แผนกของบริษัท ได้จัดโครงการที่ปรึกษาพนักงานเจ้าหน้าที่ (Employee Counseling Program)

45 การศึกษาโดยการสังเกต (Observational studies)
คนงานมิใช่วัตถุหรือสิ่งของที่จะซื้อหามาด้วยเงิน ประสิทธิภาพของการทำงาน มิได้ขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อมที่ดีแต่เพียงอย่างเดียว 3. การแบ่งงานกันทำตามลักษณะเฉพาะอย่าง (Specialization) 4. พนักงานในระดับสูง การจูงใจทางด้านจิตใจ (Mental Motivation)

46 สรุป ทั้ง Organization Without Man กับ Man Without Organization ต่างก็มีข้อบกพร่องด้วยกันทั้งคู่

47 Mary Parker Follett กล่าวว่าในการจัดการหรือการบริหารงาน
จำเป็นต้องมีการประสานงาน 4 ชนิด ดังต่อไปนี้ 1. การประสานงานโดยการติดต่อโดยตรงกับตัวบุคคลที่รับผิดชอบงานนั้นๆ 2. การประสานงานในระยะเริ่มแรกหรือในขั้นวางแผนกิจกรรมต่างๆ 3. การประสานงานที่เป็นการเสริมสร้างความสัมพันธ์ซึ่งกันและกันในกิจกรรมทุกอย่างที่กระทำ 4. การประสานงานที่กระทำเป็นกระบวนการต่อเนื่อง

48 เป็นบุคคลแรกที่เขียนเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างวัตถุ
Chester Irving Barnard เป็นบุคคลแรกที่เขียนเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างวัตถุ ประสงค์ของตัวบุคคล และวัตถุ-ประสงค์ขององค์การ

49 Abraham Harold Maslow อธิบายได้ว่าเมื่อความต้องการนั้นได้รับการตอบสนองแล้ว ความต้องการของมนุษย์ก็จะเลื่อนขึ้นไปอีกเป็นขั้นๆ

50

51 Douglas Mcgregor แบ่งพฤติกรรมของบุคคลออกเป็น 2 ด้านที่แตกต่างกัน หรือที่รู้จักกันในนามของทฤษฏี X และ ทฤษฏี Y

52 ทฤษฏี X (Theory X) ทฤษฏี Y (Theory Y) 1. ต้องมีคนคอยควบคุมจึงจะทำงาน 2. พนักงานมีความทะเยอทะยานน้อยและไม่รับผิดชอบ 3. พนักงานมักจะต่อต้านการเปลี่ยนแปลง 1. โดยธรรมชาติพนักงานชอบที่จะทำงาน 2. พนักงานมีเป้าหมายและความกระตือรือร้น 3. พนักงานมีความเต็มใจที่รับผิดชอบ 4. สามารถที่ควบคุมตนเองได้

53 ยุคที่ 4 ยุคของการจัดการเชิงปริมาณ
ยุคที่ 4 ยุคของการจัดการเชิงปริมาณ (Quantitative Management) ระยะเวลาของยุคนี้เริ่มต้นขึ้นในปี ค.ศ. 1950 เรื่อยมาจนถึง ค.ศ. 1960

54 ยุคนี้ได้นำเอาแนวความคิดหลายๆ ทางมารวมกันเพื่อพัฒนาและแก้ไขข้อบกพร่องให้ดีขึ้น และเก็บรักษาส่วนดีไว้มาผสมกัน กล่าวคือ ในการบริหารงานแบบมีกฎเกณฑ์ตามหลักการบริหารงานแบบวิทยาศาสตร์ให้ความสำคัญต่องานมากเกินไป (Production Oriented) ส่วนการบริหารตามแนวมนุษย์สัมพันธ์ให้ความสำคัญแก่คนงานมากเกินไป (People Oriented) ในยุคนี้กล่าวว่านักบริหารที่ดีมีความสามารถ ต้องไม่ให้ความสำคัญต่องานและคนงานมากจนเกินขอบเขตของความพอดี

55 Herbert A. Simon The Father of Decision Making

56 Simon ได้เสนอทฤษฎีการตัดสินใจใหม่โดยมีข้อสมมติฐานว่า
1. ทุกคนต่างก็มีข้อจำกัดทั้งในแง่ของความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับทางเลือกและกฎเกณฑ์ต่างๆ 2. ทุกคนจะตัดสินใจปฏิบัติตามด้วยวิธีง่ายๆ ไม่ค่อยมีระเบียบนักโดยใช้ความนึกคิดประกอบกับการเดา 3. ทุกคนไม่พยายามค้นหาหนทางที่จะให้ได้ผลสูงสุด แต่จะเลือกเอาทางเลือกที่เป็นที่ถูกใจ ตามความชอบของตนเอง 4. ระดับความชอบของตนที่ใช้ในการตัดสินใจ มักจะเปลี่ยนแปลงขึ้นลงตามคุณค่าของทางเลือกต่างๆ ที่ได้พบเห็นใกล้ตัวที่สุด

57 ยุคที่ 5 ยุคของการจัดการสมัยใหม่
ยุคที่ 5 ยุคของการจัดการสมัยใหม่ (Modern Management)

58 แนวคิดเรื่องการจัดการสมัยใหม่เป็นแนวความคิดทางการจัดการที่ได้รับการเสนอแนะและถูกกล่าวขานในช่วงเวลาที่ไม่นานมานี้ ซึ่งส่วนใหญ่จะตระหนักถึงสภาพแวดล้อมและการเปลี่ยนแปลงที่มีอิทธิพลต่อการจัดการ ซึ่งจะประยุกต์และขยายขอบเขตจากแนวความคิดเดิมที่พิจารณาปัจจัยภายในองค์การเท่านั้น

59 ทฤษฏีเชิงระบบ (System Theory)
เสนอโดย Richard Johnson Fremont Kast และ James Rosenzweig

60 กระบวนการแปรสภาพ (transformation) การปฏิบัติด้านเทคโนโลยี่
ทฤษฏีเชิงระบบ (System Theory) ปัจจัยนำเข้า(inputs)ทรัพยากรทางกายภาพ ทรัพยากรทางการเงิน ทรัพยากรมนุษย์ ทรัพยากรข้อมูล กระบวนการแปรสภาพ (transformation) หน้าที่การจัดการ การปฏิบัติด้านเทคโนโลยี่ กิจกรรมการผลิต ผลผลิต(outputs) สินค้าและบริการ กำไรขาดทุน พฤติกรรมพนักงาน

61 ทฤษฎีการจัดการเชิงสถานการณ์ (Contingency Theory of
Management)

62 การจัดการจะมีความเป็นสากลที่สามารถประยุกต์กับทุกองค์การ แต่มิได้หมายความว่าผู้บริหารจะใช้เทคนิคการจัดการของตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพในทุกเหตุการณ์ ผู้บริหารที่ประสบความสำเร็จในองค์การหนึ่ง อาจจะเป็นผู้บริหารระดับธรรมดาเมื่อต้องไปบริหารธุรกิจอื่น

63 William G. Ouichi ทำการศึกษาเปรียบเทียบการจัดการของธุรกิจอเมริกันและญี่ปุ่น โดยสรุปเป็นทฤษฎี A ทฤษฎี J และทฤษฎี Z

64 ลักษณะขององค์การแบบอเมริกัน (A)
1. การจ้างงานระยะสั้น 2. การตัดสินใจโดยบุคคลใดบุคคลหนึ่ง 3. ความรับผิดชอบเฉพาะบุคคล 4. การประเมินผลและการเลื่อนตำแหน่ง อย่างรวดเร็ว 5. การควบคุมอย่างเป็นทางการ 6. เส้นทางอาชีพแบบเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน 7. แยกเป็นส่วนๆ

65 ลักษณะขององค์การแบบญี่ปุ่น (J)
1. การจ้างงานระยะยาว 2. การตัดสินใจเป็นเอกฉันท์ 3. ความรับผิดชอบแบบกลุ่ม 4. การประเมินผลและการเลื่อนตำแหน่ง แบบค่อยเป็นค่อยไป 5. การควบคุมในตัวเองไม่เป็นทางการ 6. เส้นทางอาชีพไม่เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน 7. มีความเกี่ยวข้องกัน

66 ลักษณะขององค์การแบบ Z (อเมริกันแบบ ปรับปรุง)
1. การจ้างงานตลอดชีพ 2. การตัดสินใจเป็นเอกฉันท์ 3. ความรับผิดชอบเฉพาะบุคคล 4. การประเมินผลและการเลื่อนตำแหน่งแบบค่อยเป็นค่อยไป 5. การควบคุมในตัวเองไม่เป็นทางการ โดยมีการ วัดผลอย่างชัดเจนและเป็นทางการ 6. เส้นทางอาชีพแบบเชี่ยวชาญเฉพาะด้านในระดับปานกลาง 7. มีความเกี่ยวข้องกันในลักษณะครอบครัว

67 การค้นหาความเป็นเลิศทางการบริหาร (In Search of Excellence)
Thomas J. Peter และ Robert H. Waterman, Jr. ได้เขียนหนังสือเกี่ยวกับ การบริหารที่มีชื่อเสียงมากในขณะนั้นชื่อ In Search of Excellence

68 คุณสมบัติดีเด่นขององค์กรที่ประสบความสำเร็จ 8 ประการ
ในหนังสือ In Search of Excellence ได้แก่ 1. เน้นการปฏิบัติ (A bias for action) 2. การใกล้ชิดกับลูกค้า (Close to customer)

69 3. มีความเป็นอิสระและเป็นผู้ประกอบการ
(Autonomy and entrepreneurship) 4. เพิ่มประสิทธิภาพผ่านบุคคล (Productivity through people) 5. ถึงลูกถึงคน สัมผัสงานอย่างใกล้ชิด ใช้คุณค่าเป็นแรงผลักดัน (Hand-on and value driven)

70 6. ทำแต่ธุรกิจที่มีความเชี่ยวชาญ
(Stick to the knitting) 7. รูปแบบเรียบง่าย และใช้พนักงานน้อย(Simple and lean staff) 8. เข้มงวดและผ่อนปรน หรือยืดหยุ่นในการทำงาน (Simultaneous loose-tight properties)

71 การรื้อปรับระบบ (Re-engineering)
James Champy Michael Hammer

72 James Champy และ Michael Hammer ท่านทั้ง 2 ได้เขียนหนังสือที่โด่งดังมากในยุคนี้ชื่อ “Reengineering the Corporation” (1993)

73 เสนอความคิดว่า “ถ้าองค์การจะอยู่รอดและสามารถแข่งขันได้ในอนาคต ผู้บริหารจะต้องตัดสินใจเปลี่ยนแปลงองค์การอย่างถอนรากถอนโคน” (Radical Change) โดยปรับการดำเนินงานจากการปฏิบัติงานตามหน้าที่เป็นการบริหารงานตามกระบวนการธุรกิจ (Business Process Management)

74 องค์การเรียนรู้และการจัดการความรู้ (Learning Organization and
Knowledge Management)

75 เสนอโดย Peter M. Senge แห่ง M. I. T
เสนอโดย Peter M. Senge แห่ง M.I.T. ท่านผู้นี้ได้เขียนหนังสือเรื่อง วินัยประการที่ห้าขององค์การเรียนรู้ (The Fifth Discipline of Learning Organization) นักวิชาการท่านนี้เสนอแนวคิดในการมองภาพรวมขององค์การ การบริหารองค์ความรู้และการพัฒนาภูมิปัญญาขององค์การให้มีความก้าวหน้า สามารถปรับตัวให้สู้กับแข่งขันได้

76 ผู้จัดการและระดับชั้นของผู้จัดการ
ผู้บริหารระดับสูง (Top Manager) ประธาน, รองประธาน ผู้บริหารระดับกลาง (Middle Manager) ผู้จัดการ งานบริหาร ผู้บริหารระดับต้น (First-Line Manager) หัวหน้าแผนก งานปฏิบัติ คนงาน (Workers)

77 ผู้บริหารระดับต้น (First-Line Manager) เป็นผู้รับผิดชอบต่อการประสานงานและควบคุมของผู้ปฏิบัติงาน ตลอดจนให้คำปรึกษาแนะนำแก่พนักงาน และคนงานผู้บริหารในระดับนี้ปกติจะไม่ทำงานทางด้านปฏิบัติ

78 ผู้บริหารระดับกลาง (Middle Manager) เป็นผู้รับผิดชอบในด้านการบริหารงานและควบคุมผู้บริหารระดับต้นให้ดำเนินงานตามนโยบาย และแผนงานที่ได้กำหนดไว้ รวมทั้งรายงานต่อผู้บริหารระดับสูง

79 ผู้บริหารระดับสูง (Top Manager) เป็นผู้รับผิดชอบในการกำหนดนโยบายต่างๆ ของกิจการ มักจะทำหน้าที่ในการประสานการสั่งการทั้งหมดขององค์การ ตลอดจนกิจกรรมต่างๆ ที่ทำให้องค์การสามารถบรรลุวัตถุประสงค์

80 Robert L. Katz ได้ทำการศึกษาทักษะ (Skill) ของผู้จัดการในแต่ละระดับ เขาแบ่งทักษะของผู้จัดการออกเป็น 3 ชนิด คือ Technical Skill Human Skill Conceptual Skill

81 ระดับชั้นของผู้บริหารและทักษะในการบริหาร
ทักษะด้านความคิด ทักษะด้านความคิด ทักษะด้านความคิด ทักษะด้านมนุษย์ ทักษะด้านมนุษย์ ทักษะด้านมนุษย์ ทักษะด้านเทคนิค ทักษะด้านเทคนิค ทักษะด้านเทคนิค ผู้บริหารระดับต้น ผู้บริหารระดับกลาง ผู้บริหารระดับสูง

82 ความรู้เกี่ยวกับวิชาชีพ และเทคนิคการทำงาน
ระดับของผู้บริหาร เก่งคิด สูง เก่งคน กลาง เก่งงาน ต้น ความรู้เกี่ยวกับวิชาชีพ และเทคนิคการทำงาน เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงาน

83 หน้าที่ในการจัดการ (The Functions of Management)

84 Luther Gulick และ Lyndall Urwick ได้กำหนดหน้าที่ของผู้บริหารในการจัดการไว้ 7 ประการ คือ
P = Planning หมายถึงการวางแผน O = Organizing หมายถึงการจัดองค์การ S = Staffing หมายถึงการจัดคนเข้าทำงาน D = Directing หมายถึงการอำนวยการ CO = Coordinating หมายถึงการประสานงาน R = Reporting หมายถึงการรายงาน B = Budgeting หมายถึงการจัดทำงบประมาณ ซึ่งมักนิยมเรียกกันโดยทั่วไปว่า POSDCORB

85 Henri Fayol ได้กำหนดหน้าที่ไว้ 5 ประการ คือ
P = Planning หมายถึงการวางแผน O = Organizing หมายถึงการจัดองค์การ C = Commanding หมายถึงการบังคับบัญชา C = Coordinating หมายถึงการประสานงาน C = Controlling หมายถึงการควบคุม

86 Harold D. Koontz ได้กำหนดหน้าที่ไว้ 5 ประการ คือ
P = Planning หมายถึงการวางแผน O = Organizing หมายถึงการจัดองค์การ S = Staffing หมายถึงการจัดคนเข้าทำงาน D = Directing หมายถึงการสั่งการ C = Controlling หมายถึงการควบคุม

87 ผู้จัดการในระดับสูง ผู้จัดการในระดับสูง ผู้จัดการในระดับสูง การ วางแผน
การจัดองค์การ การจัดคน เข้าทำงาน สั่งการ ควบคุม ผู้จัดการในระดับสูง ผู้จัดการในระดับสูง ผู้จัดการในระดับต่ำ

88 เวลาที่ใช้ไปในการทำงานของผู้บริหาร
การวางแผน การจัดองค์การ การสั่งการ การควบคุม ผู้บริหารระดับสูง % % % % ผู้บริหารระดับกลาง % % % % ผู้บริหารระดับล่าง % % % %

89 ขอบเขตและหน้าที่ของการจัดการจะประกอบไปด้วย
การวางแผน (Planning) การจัดองค์การ (Organizing) การจัดคนเข้าทำงาน (Staffing) การสั่งการ (Directing) การควบคุม (Controlling)

90 สภาพแวดล้อมทางธุรกิจและการจัดการ (Organization Environment
and Management)

91 องค์การธุรกิจเป็นระบบเปิด (Open System) ที่ต้องดำเนินงานอยู่ภายใต้สภาพแวดล้อมต่างๆ ซึ่งมีทั้งสภาพแวดล้อมที่ควบคุมได้และควบคุมไม่ได้ (Control and Uncontrol) หากจะแบ่งสภาพแวดล้อมออกจะได้เป็น 2 ชนิดคือ Internal Environment) External Environment)

92 สภาพแวดล้อมในการดำเนินงาน
สภาพแวดล้อมทั่วไป สภาพแวดล้อมในการดำเนินงาน สภาพแวด ล้อมภายใน โครงสร้างสภาพแวดล้อมของธุรกิจ

93 สภาพแวดล้อมภายใน (Internal Environment) เป็นปัจจัยภายในองค์การที่มีอิทธิพลต่อการทำงานขององค์การ ประกอบไปด้วย Owners and shareholders Board of Directors Employee Organization culture

94 2. สภาพแวดล้อมภายนอก (External Environment) เป็นปัจจัยภายนอกที่ส่งผลมากระทบถึงศักยภาพในการบริหารงานขององค์การและความสามารถในการบรรลุเป้าหมาย ประกอบด้วย 2.1 General Environment 2.2 Task Environment

95 (General Environment)
2.1 สภาพแวดล้อมทั่วไป (General Environment) เป็นสิ่งแวดล้อมภายนอกที่เกิดขึ้นทั่วๆไป ไม่มีผลเจาะจงเฉพาะกิจการขององค์การเท่านั้น แต่มีผลกระทบกับทุกองค์การ General Environment Political and Legal Economic Technology Socio-cultural International

96 2.2 สภาพแวดล้อมในการดำเนินงาน
(Task Environment) เป็นสภาพแวดล้อมภายนอกองค์การที่มีผลกระทบโดยตรงต่อองค์การและการดำเนินงานขององค์การมากกว่าสภาพแวดล้อมทั่วไป ผู้บริหารจะต้องศึกษาและทำความเข้าใจสภาพแวดล้อมในระดับนี้ให้ชัดเจน เพื่อที่จะนำโอกาสที่เกิดขึ้นจากสภาพแวดล้อมมาใช้ให้เกิดประโยชน์แก่องค์การ สภาพภาพแวดล้อมในการดำเนินงานประกอบด้วย

97 Customers Competitors Labors Suppliers Partners

98 การจัดการและความรับผิดชอบ Social Responsibility)
ต่อสังคมของธุรกิจ (Management and Social Responsibility)

99 Economic Responsibility
Legal Responsibility Ethical Responsibility Discretionary Responsibity

100 ระดับความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์ธุรกิจ
ความรับผิดชอบโดยใช้ดุลยพินิจ ความรับผิดชอบทางเศรษฐกิจ ความรับผิดชอบต่อสังคมทั้งหมด ความรับผิดชอบทางจริยธรรม ความรับผิดชอบ ทางกฎหมาย

101 หลักของ“ธรรมมาภิบาล”
“การบริหารกิจการบ้านเมืองและสังคมที่ดีเป็นแนวทางสำคัญในการจัดระเบียบให้สังคมทั้งภาครัฐ ภาคธุรกิจเอกชนและภาคประชาชน ซึ่งครอบคลุมถึงฝ่ายวิชาการ ฝ่ายปฏิบัติการ ฝ่ายราชการและฝ่ายธุรกิจสามารถอยู่ร่วมกันอย่างสงบสุข”

102 องค์ประกอบ “ธรรมมาภิบาล” คือ
Transparence Rule of Law Responsibility Equity Worthiness Participation

103 Q & A

104 The End


ดาวน์โหลด ppt การจัดการและแนวความคิดทางการจัดการ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google