มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนประกอบตอนต้น ปก ชื่อเรื่องวิจัย ชื่อผู้วิจัย โรงเรียน ชื่อโครงการ เดือน ปี ที่วิจัยเสร็จ คำนำ ส่วนประกอบ ที่มาของรายงาน วัตถุประสงค์ของรายงาน วิจัย.
Advertisements

การเขียนบทความ.
: วัตถุประสงค์การวิจัย : การนิยามศัพท์
วิชาหัวข้อเรื่องที่ทันสมัยทางวิทยาการคอมพิวเตอร์ 6 มกราคม 2555
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
เทคนิคการอ่านรายงานการวิจัย
รศ. ดร. สมศักดิ์ คงเที่ยง
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
รายงานการวิจัย.
การวิจัยแบบกรณีศึกษา (Case Study Research) อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์
กระบวนการตีพิมพ์งานวิจัย ในวารสารวิชาการ
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
Thesis รุ่น 1.
การทบทวนวรรณคดีที่เกี่ยวข้อง THE LITERATURE REVIEW
รหัสวิชา ระเบียบวิธีการวิจัย (Research Methodology)
โครงสร้างของการเขียนรายงานการวิจัย
Seminar in computer Science
การเขียนขยายเค้าโครงเอกสารแต่ละบท ให้มีเนื้อหาสมบูรณ์
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
การวางแผนและการดำเนินงาน
Management Information Systems
การวิจัยสถาบัน ดร.จักษ์ พันธ์ชูเพชร
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย
: หัวข้อและความสำคัญของปัญหา
: หัวข้อและประเด็นปัญหา
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทาง การตลาด
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทาง การตลาด
รศ. ดร. สุนีย์ เหมะประสิทธิ์
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
ธุรกิจ จดหมาย.
ชุดวิชา QM604 วิธีการวิจัยและพัฒนาคุณภาพ RESEARCH AND DEVELOPMENT IN QUALITY ผศ.ดร.กฤษดา กรุดทอง.
การจัดกระทำข้อมูล.
การเขียนรายงานการวิจัย (เชิงปริมาณ)
เอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 8 การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนรายงานการใช้เอกสารประกอบการสอน
การออกแบบการวิจัย(Research Design)
การเขียนรายงานการวิจัย
การเขียนบทคัดย่อ และ Abstract
เอกสารแนบท้าย 3 CONCEPT PAPER เรื่อง ชื่อนิสิต สาขา/แขนง ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา หมายเหตุ นำเสนอ 10 นาทีให้ใช้ไม่เกิน 10 สไลด์เท่านั้น.
การเขียนรายงานการวิจัย
ปัญหาการวิจัย โดย ดร.วรรณะ บรรจง.
การเขียนรายงานการวิจัย
ศ.ดร.สุมาลี สังข์ศรี มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
แนวคิดในการทำวิจัย.
การทำผลงานวิชาการ สงวนลิขสิทธิ์.....โดย ดร.สุรชาติ สังข์รุ่ง.
วิธีดำเนินการพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์
กระบวนการวิจัย Process of Research
ใส่ชื่อเรื่องงานวิจัย กะทัดรัด มีตัวแปรต้น ตัวแปรตาม อย่างชัดเจน
บทที่ 7 การศึกษาและ การนำเสนอสารสนเทศ
การประเมินนวัตกรรม Dr.Kulthida Nugultham.
การวางเค้าโครงการวิจัยในชั้นเรียน
การเขียนรายงานเพื่อนำเสนอโครงงานวิทยาศาสตร์
ข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
ธวัชชัย เอี่ยมไพโรจน์
สารานุกรมการศึกษา (The Encyclopedia of Education) ให้ความหมายไว้ว่า คือ “การจัดการสืบค้นอย่างมีระบบเกี่ยวกับการศึกษาและผลผลิตที่ได้รับจากการศึกษา”
บุปผชาติ ทัฬหิกรณ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
สถิติเพื่อการวิจัย 1. สถิติเชิงบรรยาย 2. สถิติเชิงอ้างอิง.
การเขียนรายงานผลการวิจัย
15. การวิจัยเชิงสำรวจ Survey Research.
การเขียนรายงานการวิจัย (Research Paper)
บทที่ 5 การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
การอ่านผลงานวิจัย / เอกสารวิชาการ เพื่อการทำวรรณกรรม ปริทัศน์
การวางแผนและการเขียนโครงการวิจัย
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
16. การเขียนรายงานการวิจัย
บทที่ 4 ข้อเสนอโครงการวิจัย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บทความวิจัย Research Article โดย ดร. สุภาพ ฉัตราภรณ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

มาตรฐานของบทความวิจัย ด้านการวิจัย  ด้านการเขียน  ด้านจริยธรรม ดร. สุภาพ ฉัตราภรณ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ด้านการวิจัย  เป็นบทความวิจัยหรือไม่ ?  พิจารณาจากอะไร? ดร. สุภาพ ฉัตราภรณ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

 บทความนั้นมีฐานจากการวิจัย ? มีความชัดเจนในกระบวนการศึกษา/วิจัย มีระเบียบวิธีที่เป็นที่ยอมรับ ข้อมูลและข้อสรุปสามารถตรวจสอบได้ และน่าเชื่อถือ ดร. สุภาพ ฉัตราภรณ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

 คุณภาพของงานวิจัย?  ความสอดคล้อง . . .  คำถามวิจัย  กรอบแนวคิด  การเก็บรวบรวมข้อมูล  การวิเคราะห์ข้อมูล  การเสนอผลการวิจัย ดร. สุภาพ ฉัตราภรณ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

 คุณภาพของงานวิจัย?  กระบวนการวิจัย  การวิจัยเชิงปริมาณ  การวิจัยเชิงคุณภาพ  การวิจัยเชิงปฏิบัติการ  การวิจัยผสานวิธี ดร. สุภาพ ฉัตราภรณ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ด้านการเขียน  ภาษา  รูปแบบ (format)  การพิมพ์ ดร. สุภาพ ฉัตราภรณ์ ดร. สุภาพ ฉัตราภรณ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

 การลอกเลียนผู้อื่น โดยไม่อ้างอิง ด้านจริยธรรม  การลอกเลียนผู้อื่น โดยไม่อ้างอิง  การเสนอผลงานที่มีผู้ร่วมวิจัย . . . ชื่อใครเป็นคนแรก ? ดร. สุภาพ ฉัตราภรณ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

องค์ประกอบของ บทความวิจัย  ส่วนต้น  ชื่อบทความ  ชื่อ ที่อยู่ผู้เขียน  บทคัดย่อ  key words  เนื้อหา บทนำ - - ปัญหาวิจัยและความสำคัญ - - วัตถุประสงค์ คำถามวิจัย การตรวจเอกสาร วิธีวิจัย ผลและการอภิปราย สรุปและข้อเสนอแนะ  ส่วนท้าย  เอกสารอ้างอิง ดร. สุภาพ ฉัตราภรณ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

บทนำ การเขียน  ปัญหาวิจัยและความสำคัญ สภาพของปัญหา / สถานการณ์ / ข้อเท็จจริง เหตุผล / ความจำเป็น (research gaps) จุดมุ่งหมายของการวิจัย / ปัญหาการวิจัย อ้างอิง  วัตถุประสงค์ คำถามวิจัย สมมติฐาน  นิยามศัพท์ (เฉพาะคำหลัก) ดร. สุภาพ ฉัตราภรณ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ความจำเป็น (Research gaps)  ผลการวิจัยที่ขัดแย้งกัน  ไม่ปรากฏข้อมูลหรือการศึกษาเรื่องนี้มาก่อน  มีข้อมูลหรือผลการศึกษาน้อยมาก  จำเป็นต้องมีการศึกษาให้เป็นปัจจุบัน  มีจุดอ่อนของงานวิจัยที่ปรากฏ

ปัญหาที่พบในบทนำ  มีรายละเอียดมากเกินไป เข้าสู่ประเด็นปัญหาช้า  มีรายละเอียดมากเกินไป เข้าสู่ประเด็นปัญหาช้า  ความสำคัญของปัญหาไม่เด่น  ขาดการอ้างอิง  หัวข้อ ปัญหาวิจัย วัตถุประสงค์ไม่สอดคล้องกัน  มีส่วนที่ซ้ำกับวิธีการวิจัย  มีนิยามศัพท์ที่ไม่จำเป็น ดร. สุภาพ ฉัตราภรณ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

การตรวจเอกสาร การเขียน  อาจผสมผสานในปัญหาวิจัยและความสำคัญ สังเคราะห์แนวคิด / ทฤษฎี งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง  เรียบเรียง เชื่อมโยง (ไม่ตัดปะ)  แบ่งหัวข้อ / ย่อหน้าให้น่าอ่าน  อ้างอิงให้ถูกต้อง ดร. สุภาพ ฉัตราภรณ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ปัญหาที่พบในการตรวจเอกสาร  มีหัวข้อย่อยมากเกินไป  มีรายละเอียดติดต่อกันยาวมากเกินไป  ขาดการสังเคราะห์ / เชื่อมโยงงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง  ขาดองค์ความรู้ที่รองรับสมมติฐาน (ในกรณีที่มีสมมติฐาน)  แหล่งอ้างอิงไม่น่าเชื่อถือ  วิธีอ้างอิงไม่ถูกต้อง / ไม่ตรงกับในเอกสารอ้างอิง ดร. สุภาพ ฉัตราภรณ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

วิธีการวิจัย การเขียน  อธิบายแนวทางการวิจัย / วิธีการวิจัย  อธิบายแนวทางการวิจัย / วิธีการวิจัย ระบุประชากร& กลุ่มตัวอย่าง - - การสุ่ม / เลือกกลุ่มตัวอย่าง  อธิบายกระบวนการเก็บข้อมูล อธิบายแนวทางการวิเคราะห์ข้อมูล (ไม่ต้องเขียนสูตรสถิติ) ดร. สุภาพ ฉัตราภรณ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ปัญหาที่พบในการเขียนวิธีการวิจัย  ใช้สถิติไม่เหมาะสมวิธีการวิจัย  ขาดข้อมูลเกี่ยวกับการเลือกกลุ่มตัวอย่าง  ขาดข้อมูลการตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือวิจัย  เขียนไม่ตรงการวิจัย (ระบุว่าเป็นงานวิจัยผสานวิธี แต่ ...) ในกรณีที่ระบุว่าเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ... ไม่ได้เขียนกระบวนการวิจัยที่ชัดเจน ตามกระบวนทัศน์ ดร. สุภาพ ฉัตราภรณ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ผลการวิจัยและวิจารณ์ การเขียน ผลการวิจัยและวิจารณ์ เสนอผลเชิงปริมาณด้วยการบรรยาย ตามด้วยตาราง / graph เสนอผลเชิงคุณภาพด้วยข้อมูลเชิงบรรยาย diagram, mind map ใช้ภาษาที่ชัดเจนและถูกต้อง วิจารณ์ข้อค้นพบ - - ไม่คาดคิด ขัดแย้ง ข้อมูลใหม่ (ได้มาโดยบังเอิญ) ... ดร. สุภาพ ฉัตราภรณ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ปัญหาที่พบในการเขียนผลการวิจัยและวิจารณ์  ไม่แบ่งเป็นเนื้อหาให้ชัดเจน (เช่น แบ่งตามวัตถุประสงค์)  มีรายละเอียดข้อมูลพื้นฐานของกลุ่มตัวอย่างมากเกินไป  เนื้อหาน้อยมาก  ขาดตารางที่สำคัญ มีแต่ภาคบรรยาย มีตาราง แต่ไม่ได้ตีความ มีตารางย่อยๆ มากเกินไป อ่านตัวเลขในตารางทุกรายการ ไม่สรุป ตัวเลขที่บรรยาย ไม่ตรงกับในตาราง ดร. สุภาพ ฉัตราภรณ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ปัญหาที่พบในการเขียนผลการวิจัยและวิจารณ์  วิจารณ์ตามความคิดของผู้วิจัย  ไม่ได้วิจารณ์จากผลการวิจัย  เขียนซ้ำกับผลการวิจัย ดร. สุภาพ ฉัตราภรณ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

สรุปและข้อเสนอแนะ การเขียน สรุปประเด็นสำคัญของข้อค้นพบ ข้อเสนอแนะที่สอดคล้องกับผลการวิจัย ให้ข้อเสนอแนะสำหรับการวิจัยต่อไป - - ต่อยอด ประยุกต์ ... ดร. สุภาพ ฉัตราภรณ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ปัญหาที่พบในการเขียนสรุปและข้อเสนอแนะ  มีรายละเอียดมากเกินไป  สรุปเกินข้อมูลที่ปรากฏในข้อค้นพบ  ข้อเสนอแนะไม่ได้มาจากผลการวิจัย ดร. สุภาพ ฉัตราภรณ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ปัญหาที่พบในการเขียน เอกสารอ้างอิง ขาดรายการที่อ้างในเนื้อหา มีรายการเกินจากในเนื้อหา เขียนชื่อผิด ระบุปีไม่ตรงกับในเนื้อหา ระบุชื่อไม่ตรงกับในเนื้อหา ข้อมูลไม่สมบูรณ์ ผิดรูปแบบ ไม่เรียงลำดับ ดร. สุภาพ ฉัตราภรณ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

สรุปปัญหาที่พบ  งานวิจัยไม่ได้มาตรฐาน  บทคัดย่อยาว และมีรายละเอียดเกินจำเป็น  Abstract ผิดทั้งความหมายและหลักภาษา  Abstract ไม่ตรงกับ บทคัดย่อ  Key words ไม่เป็นตัวแทนที่ดีของเรื่อง  หัวข้อ / ชื่อเรื่อง สื่อไม่ตรงกับการวิจัย ดร. สุภาพ ฉัตราภรณ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

สรุปปัญหาที่พบ (ต่อ) หัวข้อ วัตถุประสงค์ และกรอบแนวคิด ไม่สอดคล้องกัน หัวข้อ วัตถุประสงค์ และกรอบแนวคิด ไม่สอดคล้องกัน  ขาดการตรวจทานงานก่อนส่งต้นฉบับ  ต้นฉบับไม่สมบูรณ์  งานวิจัยไม่ได้มาตรฐาน ดร. สุภาพ ฉัตราภรณ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ดร. สุภาพ ฉัตราภรณ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์