โครงการ การพัฒนาอีคอร์สใน รายวิชาศึกษาสังเกตและการมี ส่วนร่วม Development of E-course on Observation and Participation in.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ICT & LEARN.
Advertisements

เปรียบเทียบครุศาสตร์อุตสาหกรรมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ  
GED 3801 การศึกษาและการมีส่วนร่วมในสถานศึกษา 1(60)
หลักสูตร บัณฑิต สาขาวิชา หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 25..
แนะนำรายวิชา GED40003 คอมพิวเตอร์กับชีวิต
โครงงานคืออะไร ??? ติดตามมาเลยนะครับ…..
GED 3801 การศึกษาและการมีส่วนร่วมในสถานศึกษา 1(60)
ER 2104 หลักการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 3(3-0)
ชื่อโครงการ (ภาษาไทย) การพัฒนารายวิชาหลักสูตรและการสอน ผ่านเว็บสำหรับนักศึกษาระดับ ปริญญาตรีในสถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตสุพรรณบุรี (ภาษาอังกฤษ) DEVELOPMENT.
นางสาวสกุณา น้อยมณีวรรณ์
โดย นางสาวเขมณัฏฐ์ อำนวยวรชัย รหัสนิสิต
Development of English Writing Web Course Ware for Grade 12
การศึกษารายกรณี.
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
สรุปภาพรวมหน่วยการเรียนรู้
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
สัปดาห์ที่ 6 เรื่อง วิธีการดำเนินงานสุขศึกษา ในสถานที่ต่างๆ
หน่วยที่ 1 หลักการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับนโยบายสาธารณะและการ วิเคราะห์นโยบาย
มคอ.4 รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม
Seminar in Information Technology II
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
วิชา พฤติกรรมสุขภาพและการส่งเสริมสุขภาพ (Health Bahavior and Health Promotion) 2 หน่วยกิต 2(2-0-1)
การวิเคราะห์ปัญหาวัยรุ่นและการช่วยเหลือ
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
การจะดการความรู้ด้านวิชาการ (Academic Knowledge Management : AKM)
การวิเคราะห์ผู้เรียน
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
Company LOGO หลักสูตรระดับ บัณฑิตศึกษา ที่เปิดรับสมัคร ปี การศึกษา 2551 คณะทันตแพทยศาสตร์ หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตทาง วิทยาศาสตร์การแพทย์คลินิก สาขาวิชารังสีวิทยาช่องปากและใบหน้า.
รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม (Field Experience Specification)
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการศึกษาพิเศษ
รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม (มคอ.4)
การจัดการเรียนรู้โดยยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ
(Competency Based Curriculum)
ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาสอบไม่ผ่านเกณฑ์คะแนน 60% ในรายวิชาหลักการตลาด โดยใช้วิธีการสอน ( เพื่อนช่วยเพื่อน) ของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.1/3.
การพัฒนากระบวนการอ่านในรายวิชาภาษาไทย ของนักศึกษาสาขา ช่างยนต์
แนวทางการสอนเพื่อพัฒนาทักษะเด็กตามรูปแบบ การสอนแบบโครงงาน/โครงการ
ผู้วิจัย นางสาวพิลาวรรณ พิริยะโภคัย
Development of E-Course on Photography by Digital Camera for Mahidol University Students โครงการพัฒนาอีคอร์ส รายวิชาการ ถ่ายภาพด้วยกล้องดิจิตอล สำหรับนักศึกษามหาวิทยาลัยมหิดล.
โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
นางสาวพรวิภา จารุเดช วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
ผลของการเรียนแบบร่วมมือที่มีต่อ ผลสัมฤทธิ์และความสนใจในการเรียน วิชาวิทยาศาสตร์ของนักเรียน ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 โรงเรียนสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี
การพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้
ชื่อผลงานวิจัย กิจกรรมการเรียนการสอนวิชาการใช้โปรแกรมประมวลผลคำ รหัสวิชา เรื่อง การตกแต่งเอกสาร โดยวิธีการให้นักเรียนสร้างผลงานจากสถานการณ์จำลองที่กำหนดให้
นายทศพิธ แป้นดวงเนตร วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง สมการกำลังสอง
การประเมินพฤติกรรมการ เรียนของนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ( ปวส.2 ) สาขาการตลาด ปี การศึกษา 2555 ผู้วิจัย นายฉัตรชัย ภักดีนอก ตำแหน่ง อาจารย์ประจำฝ่ายวิชาการ.
อาจารย์บำเรอ ศรีสุขใส
การสอนแบบโครงงาน ขจิต ฝอยทอง คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การศึกษาผลสัมฤทธิ์การเรียนวิชาเครื่องส่งวิทยุและสายอากาศ เรื่อง วงจรเรโซแนนท์ โดยใช้ชุดฝึกเครื่องส่งวิทยุ AM. ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การสร้างสื่อ e-Learning
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการภาษานุสรณ์บางแค
สรุปวิธีสอนที่ใช้ในการฝึกอบรม
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
โดย นายสุรชัย ไตรบรรณ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก
ผลงานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาความสามารถในการผลิตสื่อเพื่อการสื่อสารทางการตลาดโดยเน้นการฝึกปฏิบัติจริงในรายวิชาการสื่อสารทางการตลาดของนักศึกษา ชั้นปีที่ 2.
รายละเอียดของรายวิชา (มคอ.3)
การนำเสนอข้อมูล โดย นางสาวเสริมพร บุญเลิศ นักศึกษาปริญญาโท สาขาหลักสูตรและ การสอน รุ่น 5 มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร โมเดล KM star *************************
ตัวอย่าง การเขียนโครงการ
เทคนิควิธีในการจัดการเรียนการสอน
ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชามนุษยสัมพันธ์โดยใช้เทคนิคการทำงานเป็นทีม ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 2 ผู้วิจัย นางบุษกร.
การสอนแบบอภิปราย และการสอนแบบนิรนัย
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยใช้การสืบเสาะหา ความรู้แบบนำทาง
ผู้วิจัย อาจารย์สมเกียรติ ขำสำราญ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงการ การพัฒนาอีคอร์สใน รายวิชาศึกษาสังเกตและการมี ส่วนร่วม Development of E-course on Observation and Participation in School Practice

จัดทำโดย นางสาวนฤมล ปภัสสรานนท์ รหัส G5217650583 นิสิตปริญญาเอก สาขาหลักสูตรและการสอน ภาคพิเศษ รุ่น 6

หลักการและเหตุผล การศึกษาสังเกตและการมีส่วนร่วม เป็นรายวิชาในหมวดรายวิชาเฉพาะด้าน การฝึกประสบการณ์วิชาชีพ เพื่อให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากการศึกษาสังเกตโดยใช้เครื่องมือในการรวบรวมข้อมูลและทักษะต่าง ๆ และนำข้อมูลต่าง ๆ มาวิเคราะห์ ให้รู้จักผู้เรียนเป็นรายบุคคล รู้ธรรมชาติและพัฒนาในแต่ละวัยผู้เรียน บทบาทหน้าที่ครู

จากคำอธิบายรายวิชาดังกล่าว ผู้สอนต้องออกแบบกิจกรรมให้นักศึกษาฝึกทักษะการใช้เครื่องมือในการรวบรวมข้อมูล และทักษะต่าง ๆ ตลอดจนมีบุคลิกภาพที่เหมาะสม ก่อนที่ผู้เรียนจะไปปฏิบัติและมีส่วนร่วมในสถานศึกษา ซึ่งการจัดการสอนเฉพาะในห้องเรียนเพียงอย่าเดียว ไม่สามารถพัฒนาผู้เรียนได้เต็มศักยภาพ ดังนั้น ผู้สอนจึงนำ E-course มาใช้ในการสอนในวิชาดังกล่าว

วัตถุประสงค์โครงการ เพื่อพัฒนา E-Course สำหรับใช้ในการเรียนการสอนวิชาศึกษาและการมีส่วนร่วม

ขั้นตอนการดำเนินงาน • ศึกษาและจัดทำประมวลผลการสอนวิชาการศึกษา สังเกตและการมีส่วนร่วม • ศึกษาลักษณะการจัดการเรียน E-Course จาก เว็บไซต์ต่าง ๆ • ศึกษาค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ โดยเฉพาะข้อมูลในเว็บไซต์ที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาใน บทเรียน

• ออกแบบและดำเนินการสร้างบทเรียน E-Course ตามที่กำหนดไว้ • ปรึกษาอาจารย์ตรวจสอบบทเรียนที่ออกแบบและ ดำเนินการปรับปรุงแก้ไข • ทดสอบบทเรียน E-Course ปรับปรุงแก้ไข • นำเสนออาจารย์เมื่อได้รับความเห็นชอบแล้วนำขึ้น www. dru.ac.th

งบประมาณ 5,000 บาท

ผลงานและต้นแบบ ผลงานเต็มรูป ♦ Coerce intro ♦ Content ♦ Resources ♦ Sitemap ♦ Weblog ♦ Contact

เมนู Course intro ประกอบด้วย ☺Course Syllabus ☺คำแนะนำการเรียน

ประกอบด้วย เมนูย่อย จำนวน 8 เมนู เมนู Contact ประกอบด้วย เมนูย่อย จำนวน 8 เมนู Unit 1 การศึกษามนุษยสัมพันธ์กับการศึกษาสังเกต ผู้เรียนในโรงเรียน Unit 2 การศึกษาผู้เรียนเป็นรายบุคคล Unit 3 ธรรมชาติและพัฒนาการของผู้เรียนแต่ละวัย Unit 4 การวิเคราะห์ผู้เรียนตามแนวทางพหุปัญญาและลักษณะรูปแบบการเรียนรู้

Unit 5 บทบาทหน้าที่ครูในสถานศึกษา งานในหน้าที่ครูผู้สอน งานในหน้าที่ครูประจำชั้น และครูที่ปรึกษา

เมนู Resources เมนู Site map เมนู Weblog เมนู Contact เป็นเมนูรวบรวมข้อมูลให้นักศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมในแต่ละหน่วยที่กำหนดไว้ เมนู Resources เมนู Site map เป็นเมนูการลิงค์เชื่อมต่อแต่ละเมนู เป็นเมนูเชื่อมต่อไปยัง Blog ให้นักศึกษาได้อภิปรายและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกับและนักศึกษาติดต่อสื่อสารกับอาจารย์ผู้สอน ใช้เป็นช่องทางให้นักศึกษาส่งงานผ่าน e-mail เมนู Weblog เมนู Contact

ผลงานต้นแบบ แต่ละเมนูสามารถ Link โดยใช้เมนู Site map Course intro Content Resources Weblog Contact

Course intro คำอธิบายรายวิชา แนะนำการเรียน แต่ละกรอบมีคลิกมีรายละเอียด

เนื้อหาสาระในเรื่องการศึกษาผู้เรียน (แยกย่อยแต่ละเรื่อง) วัตถุประสงค์การเรียนรู้ในหน่วยที่ 2 การศึกษาผู้เรียนเป็นรายบุคคล Content การทดสอบก่อนเรียน เนื้อหาสาระในเรื่องการศึกษาผู้เรียน เป็นรายบุคคล (แยกย่อยแต่ละเรื่อง)

Weblog นักศึกษาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และส่งงานอาจารย์ผู้สอน กิจกรรมที่ให้นักศึกษาทำ Weblog นักศึกษาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และส่งงานอาจารย์ผู้สอน ทดสอบหลังเรียน

แหล่งข้อมูลให้นักศึกษาสืบค้นที่อาจารย์ทำ วิดีทัศน์พฤติกรรมผู้เรียน ตัวอย่างการศึกษาวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล เมนู Resources แหล่งข้อมูลให้นักศึกษาสืบค้นที่อาจารย์ทำ หรือ Link กับ Web อื่น ๆ วิดีทัศน์พฤติกรรมผู้เรียน

ช่องทางติดต่อสื่อสารกับอาจารย์ผู้สอน Weblog ช่องทางให้นักศึกษาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ กับเพื่อนนักศึกษา ช่องทางติดต่อสื่อสารกับอาจารย์ผู้สอน

ช่องทางนักศึกษาส่งงานอาจารย์ผู้สอนทาง Contact ช่องทางนักศึกษาส่งงานอาจารย์ผู้สอนทาง E-mail