การดำเนินการ ขั้น 1 : ◊ แต่งตั้งคณะทำงาน ◊ จัดทำแผนดำเนินการ (Roadmap) ◊ จัดประชุมชี้แจง คณะทำงานดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ควรประกอบด้วย.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
Advertisements

การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
เพื่อทบทวนระบบและกลไกในการประกันคุณภาพการศึกษา
Graduate School Khon Kaen University
ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง
รายละเอียดตัวชี้วัดที่ 10 (จังหวัด)
สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สรรคุณค่าวิชาการ สู่สังคม
โครงการ “เวทีพบปะ HR ระดับต้น”
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผล การปฏิบัติราชการข้าราชการและ พนักงานราชการกรมควบคุมโรคประจำปีงบประมาณ 2557.
นายชยันต์ หิรัญพันธุ์
การเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและร่วมติดตาม ตรวจสอบผลการปฏิบัติราชการ วันที่ 29 มกราคม 2551.
คำรับรองการปฏิบัติราชการ
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
การประเมินคุณภาพภายในกอง แผนงาน ประจำปีการศึกษา 2551 วันที่ 20 กรกฎาคม 2552 โดย คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายใน.
แผนที่ยุทธศาสตร์สำนักพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารงานบุคคล
กฎ ก.พ. ว่าด้วยการทดลองปฏิบัติหน้าที่
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
หมวด2 9 คำถาม.
แนวทางการดำเนินงานโครงการสำคัญ ปีงบประมาณพ.ศ.2554 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
มิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กร
Sharing Items Module 1 : การจัดทำแผนที่ยุทธศาสตร์
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
ผลการดำเนินงานองค์กร (Performance Measurement)
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
การประชุมชี้แจงสาระสำคัญของประกาศ คพร.
แนวทางการจัดทำมาตรฐานความโปร่งใสของกรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ.2557
การประชุมคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 1/2554 (ครั้งที่ 1)
การประชุมคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 1/2553 วันพฤหัสบดีที่ 28 มกราคม 2553 เวลา น. ณ ห้องประชุม 3 ชั้น 3 สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน.
1 การสัมมนาผู้ตรวจ ประเมินคุณภาพภายใน ปีการศึกษา 2552 วันพฤหัสบดีที่ 21 ตุลาคม 2553 ณ ห้องประชุม 3222 อาคารสิริคุณากร.
วัตถุประสงค์ของการประชุมครั้งนี้
สภาพผลการดำเนินงานองค์กร
1 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ กลุ่มที่ 5. 2 สมาชิกกลุ่ม 18.
การลดขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติราชการ และการพิจารณาให้รางวัลคุณภาพ
การตรวจรับรองเกณฑ์คุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Certify FL) 1.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด2 9คำถาม.
การเก็บข้อมูลสู่ฐานข้อมูลและ การนำไปใช้กรณีตัวอย่างข้อมูลจากปะเหลียน
การบริหารความเสี่ยง (Risk Management)
ตัวชี้วัด ปี 2548 คำรับรองการปฏิบัติราชการ มิติ 1 ประสิทธิผล
แผนการดำเนินการ ระยะที่ 2 มิ.ย. 48ก.ค. 48ส.ค. 48ก.ย มี.ค คกก.GG 27 คทง. Blueprint คทง.จัดทำ ข้อมูล 14 Work shop II ส่ง ข้อเสนอ การ เปลี่ยนแป.
นักวิจัย กับ แนวทางการมีส่วนร่วมในการทำวิจัย
โครงการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่อง เข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) เขียนลักษณะสำคัญขององค์กร :
โครงการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่อง เข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) KICK OFF.
โครงการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่อง เข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) เขียนรายงานหมวดที่ 1-6 :
โครงการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่อง เข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) เขียนรายงานหมวดที่ 7 : ผลลัพธ์การดำเนินการ.
ระบบการประเมินองค์กร ตามแนวทางการพัฒนาคุณภาพ เครือข่ายบริการปฐมภูมิ
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
แนวปฏิบัติในการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการดำเนินการ มาตรการประหยัดพลังงาน
ตามเกณฑ์มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ
Evaluation as a Strategy ; สำนักประเมินผล สำนักงบประมาณ
ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ
การเตรียมจัดทำแผนปฏิบัติราชการปี 2553
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
ตัวชี้วัดคุณภาพการให้บริการประชาชน
รางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ (Thailand Public Service Awards)
แนวทางการดำเนินการ พัฒนาระบบราชการกรมอนามัย ประจำปี 2553.
ระดับกระทรวง / กรม เป้าหมายการให้บริการระดับกระทรวง (PSAM) เป้าหมายการให้บริการระดับกรม (PSA) ระดับหน่วยงาน ตัวชี้วัดผลผลิตตามเอกสาร สงป. (SDA) ตัวชี้วัดคำรับรองกรมฯ.
กลุ่ม สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร.
Progress Report 2548 Financial Report Link to Progress Report 2550 Capacity Building 2551 Estimates Report Link to Excel Loader KPI Strategy.
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การดำเนินการ ขั้น 1 : ◊ แต่งตั้งคณะทำงาน ◊ จัดทำแผนดำเนินการ (Roadmap) ◊ จัดประชุมชี้แจง คณะทำงานดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ควรประกอบด้วย 2 คณะ คือ คณะกรรมการติดตามและกำกับดูแลการดำเนินการพัฒนา คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (Steering Committee) คณะทำงานพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (Working Team)

แนวทางการจัดตั้ง Steering Committee ระดับกรม ผู้บริหารสูงสุด (อธิบดี/เลขาธิการ ) ประธาน ผู้บริหารระดับรอง (รองอธิบดี / รองเลขาธิการ) ผู้บริหารระดับรอง (ผู้บริหารที่เกี่ยวข้อง) ผู้บริหารระดับรอง รองอธิบดี/รองเลขาธิการ (ที่ได้รับมอบหมาย) รองประธาน หน้าที่ : กำหนดนโยบาย กรอบทิศทางการดำเนินการ ส่งเสริม สนับสนุน ให้คำปรึกษา Working Team ในการดำเนินการ เพื่อให้การดำเนินการเป็นไปตามกรอบทิศทาง รวมทั้ง จัดสรรทรัพยากรสำหรับดำเนินการตามแผนปรับปรุง และสื่อสารให้ทุกคนในองค์กรตระหนักถึงความสำคัญของการใช้เกณฑ์มาปรับปรุงองค์กร

แนวทางการจัดตั้ง Working Team ระดับกรม หัวหน้าคณะทำงาน (รองประธาน Steering Committee) เลขานุการคณะทำงาน เจ้าภาพ (Category Champion) 1..2..3..4..5..6 ผู้ประสานงาน เลขานุการหมวด หน้าที่ : จัดเตรียมข้อมูลและสนับสนุนองค์กรในเรื่องต่าง ๆ เพื่อสนับสนุนการประเมินองค์กร ดำเนินการประเมินองค์กรตามเกณฑ์ จัดทำรายงานผลการดำเนินการขององค์กร วิเคราะห์หาจุดแข็งและโอกาสในการปรับปรุง จัดทำแผนปรับปรุง และเสนอผู้บริหารเพื่อให้ความเห็นชอบ

การดำเนินการ ขั้น 1 : ◊ แต่งตั้งคณะทำงาน ◊ จัดทำแผนดำเนินการ (Roadmap) ◊ จัดประชุมชี้แจง กิจกรรมสำคัญที่ต้องดำเนินการ เป้าหมายที่จะได้รับของแต่ละกิจกรรม ผู้รับผิดชอบในแต่ละกิจกรรม ระยะเวลาในการดำเนินการ

แผนการดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ตัวอย่าง

การดำเนินการ ขั้น 1 : ◊ แต่งตั้งคณะทำงาน ◊ จัดทำแผนดำเนินการ (Roadmap) ◊ จัดประชุมชี้แจง จัดประชุมชี้แจงให้ความรู้เกี่ยวกับการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ทิศทางการดำเนินการขององค์กร และบทบาทการมีส่วนร่วมของแต่ละคน จัดหาวิทยากรได้จากผู้ที่เข้ารับการอบรมวิทยากรตัวคูณและวิทยากรที่ปรึกษาด้านการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐจากสำนักงาน ก.พ.ร. สามารถดูทำเนียบได้จาก www.opdc.go.th หัวข้อ “โครงการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ”

การดำเนินการ ขั้น 2 : จัดทำลักษณะสำคัญขององค์กร จัดทำรายงานผลการจัดทำลักษณะสำคัญขององค์กร คือ การตอบ 15 คำถาม ตามเกณฑ์คุณภาพ โดยใช้ template เดิมของปี 49 (มีการปรับเปลี่ยนบ้างเล็กน้อย)

แนวทางการตอบคำถาม ขั้น 2 : จัดทำลักษณะสำคัญขององค์กร ส่วนราชการต้องตอบทุกคำถาม (15 คำถาม) โดย คำถามที่มีเครื่องหมาย (#) เป็นคำถามบังคับ ต้องตอบคำถามโดยมีข้อมูลสารสนเทศที่เกี่ยวข้องในเรื่องนั้น ๆ คำถามที่ไม่มีเครื่องหมาย (#) ตอบโดยยังไม่มีความสมบูรณ์ (ทำบางส่วนของคำถาม) ยังไม่ได้ดำเนินการ ให้ตอบว่า “ยังไม่ได้ดำเนินการ เนื่องจาก ..........” (ให้ระบุปัญหาหรือสาเหตุที่ยังไม่ได้ดำเนินการ) คำถามที่ส่วนราชการมีลักษณะงานไม่เกี่ยวข้องกับเรื่องนั้น ให้ตอบว่า “ส่วนราชการมีลักษณะงานไม่เกี่ยวข้องกับคำถามในข้อนี้” คำถามที่มีเครื่องหมายดอกจัน (*) ที่ปรากฏอยู่ที่ท้ายของคำถาม หมายถึง ให้ส่วนราชการตอบตามความเหมาะสมตามภารกิจของส่วนราชการนั้น

แนวทางการประเมินผล ขั้น 2 : จัดทำลักษณะสำคัญขององค์กร พิจารณาความครบถ้วนของรายงานผลการจัดทำลักษณะสำคัญขององค์กร คือ จำนวนข้อที่ตอบคำถามตามแนวทางที่กำหนด คะแนนที่ได้รับ 0.2 0.4 0.6 0.8 1.0 จำนวนข้อที่ตอบคำถาม 3 6 9 12 15

การดำเนินการ ขั้น 3 : จัดทำรายงานผลการดำเนินการขององค์กร การจัดทำรายงานผลการดำเนินการขององค์กร ตามเกณฑ์คุณภาพ คือ การตอบคำถาม 7 หมวด 90 คำถาม ตามแนวทางที่กำหนด

แนวทางการตอบคำถาม ขั้น 3 : จัดทำรายงานผลการดำเนินการขององค์กร ในการตอบคำถามแต่ละข้อ อาจมีคำถามหลายหัวข้อย่อย (bullet) อาจตอบรวมหัวข้อย่อยไว้ด้วยกันก็ได้ หมวด 1-6 ในแต่ละข้อคำถาม สามารถเลือกตอบได้ 3 รูปแบบ คือ ตอบโดยใช้ตาราง ใช้ได้ทั้งตาราง template ปี 49 หรือปรับเปลี่ยนใหม่ได้ตามความเหมาะสม ตอบโดยใช้แผนภาพหรือแผนผัง พร้อมคำอธิบาย ตอบโดยการพรรณา หมวด 7 ตอบโดยใช้ตาราง หรือกราฟประกอบด้วยก็ได้

แนวทางการตอบคำถาม ขั้น 3 : จัดทำรายงานผลการดำเนินการขององค์กร ส่วนราชการต้องตอบทุกคำถาม (90 คำถาม) โดย คำถามที่มีเครื่องหมาย (#) เป็นคำถามบังคับ ต้องตอบคำถามโดยมีข้อมูลสารสนเทศที่เกี่ยวข้องในเรื่องนั้น ๆ คำถามที่ไม่มีเครื่องหมาย (#) ตอบโดยยังไม่มีความสมบูรณ์ (ทำบางส่วนของคำถาม) ยังไม่ได้ดำเนินการ ให้ตอบว่า “ยังไม่ได้ดำเนินการ เนื่องจาก ..........” (ให้ระบุปัญหาหรือสาเหตุที่ยังไม่ได้ดำเนินการ) คำถามที่ส่วนราชการมีลักษณะงานไม่เกี่ยวข้องกับเรื่องนั้น ให้ตอบว่า “ส่วนราชการมีลักษณะงานไม่เกี่ยวข้องกับคำถามในข้อนี้” คำถามที่มีเครื่องหมายดอกจัน (*) ที่ปรากฏอยู่ที่ท้ายของคำถาม หมายถึง ให้ส่วนราชการตอบตามความเหมาะสมตามภารกิจของส่วนราชการนั้น

แนวทางการประเมินผล ขั้น 3 : จัดทำรายงานผลการดำเนินการขององค์กร แนวทางการประเมินผล ขั้น 3 : จัดทำรายงานผลการดำเนินการขององค์กร พิจารณาความครบถ้วนของรายงานผลการดำเนินการขององค์กร คือ จำนวนข้อที่ตอบคำถามตามแนวทางที่กำหนด คะแนนที่ได้รับ 0.2 0.4 0.6 0.8 1.0 จำนวนข้อที่ตอบคำถาม 30 45 60 75 90

การดำเนินการ ขั้น 4 : ประเมินองค์กรด้วยตนเอง ประเมินองค์กรด้วยตนเอง (Self-Assessment) คือ การวิเคราะห์หาจุดแข็ง และโอกาสในการปรับปรุง ตามแนวทางการประเมิน Tips ! อะไรที่เกณฑ์ถาม แล้วองค์กรมี “เป็นจุดแข็ง” อะไรที่เกณฑ์ถาม แล้วองค์กรไม่มี “เป็นโอกาสในการปรับปรุง”

มิติ มิติ แนวทางการประเมิน กระบวนการ ผลลัพธ์ แนวทาง (Approach - A) การถ่ายทอดเพื่อนำไปปฏิบัติ (Deployment - D) การเรียนรู้ (การทบทวนและ ปรับปรุง) (Learning - L) การบูรณาการ (Integration - I) ผลการดำเนินการปัจจุบัน (Level - Le) แนวโน้ม (Trend - T) ผลการดำเนินการเปรียบเทียบ (Comparison - C) ครอบคลุมและความสำคัญของผลลัพธ์ (Linkage - Li)

การดำเนินการ ขั้น 5 : จัดลำดับความสำคัญของโอกาสในการปรับปรุง จัดลำดับความสำคัญของโอกาสในการปรับปรุง คือ การนำ “โอกาสในการปรับปรุง” ที่พบกระจัดกระจายจากการประเมิน มาจัดลำดับความสำคัญเพื่อนำไปปรับปรุงแก้ไขให้สอดคล้องกับความจำเป็นเร่งด่วนและทรัพยากรที่องค์กรมี Tips ! ใช้หลัก Vital Few

ตัวชี้วัดที่ 21 ระดับสถาบันอุดมศึกษา

ขอบเขตดำเนินการ ในการพิจารณาบทบาทหน้าที่ ผู้รับบริการ และการบริหารจัดการขององค์กร ให้พิจารณาครอบคลุมทุกหน่วยงาน ภายใต้การกำกับดูแลของสถาบันอุดมศึกษา โดยไม่รวมถึงวิทยาเขต ยกเว้นกรณีของสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล ให้ครอบคลุมถึงวิทยาเขตต่าง ๆ ภายใต้สังกัดด้วย

สำหรับสถาบันอุดมศึกษาทั้งเก่า (17 แห่ง) และใหม่ (3 แห่ง) สำหรับสถาบันอุดมศึกษาที่ได้เลือกตัวชี้วัดนี้ในปี 2549 ในขั้นตอนที่ 1 และ 2 ให้ทบทวนลักษณะสำคัญขององค์กร และรายงานผลการดำเนินการ ที่จัดทำไว้แล้วในปี 2549 ขั้นตอนที่ การดำเนินการ 1 จัดทำรายงานผลการจัดทำลักษณะสำคัญขององค์กร ตาม แนวทางและแบบฟอร์มที่กำหนด 2 จัดทำรายงานผลการดำเนินการขององค์กร ตามแนวทางและ แบบฟอร์มที่กำหนด 3 จัดทำรายงานผลการประเมินองค์กรด้วยตนเอง (Self-Assessment) จัดลำดับความสำคัญของโอกาสในการปรับปรุงองค์กร 4 จัดทำแผนปรับปรุงองค์กรที่สอดคล้องกับการจัดลำดับ ความสำคัญของโอกาสในการปรับปรุง อย่างน้อย 2 แผน ส่งไปยังภารกิจการบริหารการเปลี่ยนแปลงฯ ภายใน 30 มิ.ย. 50 5 วัดระดับความสำเร็จของดำเนินการตามแผนฯ

การดำเนินการ ขั้น 1 : จัดทำลักษณะสำคัญขององค์กร สถาบันอุดมศึกษาที่ดำเนินการต่อเนื่อง ให้ทบทวนลักษณะสำคัญขององค์กรที่ทำไว้ปี 49 เนื่องจาก คณะทำงานมีความเข้าใจเกณฑ์ฯ มากขึ้น ข้อมูลสารสนเทศมีการปรับเปลี่ยน เช่น จำนวนบุคลากร บทบาทหน้าที่ของส่วนราชการ ความท้าทายของส่วนราชการ เป็นต้น จำเป็นต้องมีการทบทวนและดำเนินการปรับปรุงข้อมูลและสารสนเทศให้เป็นปัจจุบัน และครบถ้วนสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น จัดทำรายงานสรุปผล คือ การตอบ 15 คำถาม (ตามเกณฑ์) โดยใช้ template เดิมของปี 49 (มีการปรับเปลี่ยนบ้างเล็กน้อย)

แนวทางการตอบคำถาม ขั้น 1 : ลักษณะสำคัญขององค์กร ส่วนราชการต้องตอบทุกคำถาม (15 คำถาม) โดย คำถามที่มีเครื่องหมาย (#) เป็นคำถามบังคับ ต้องตอบคำถามโดยมีข้อมูลสารสนเทศที่เกี่ยวข้องในเรื่องนั้น ๆ คำถามที่ไม่มีเครื่องหมาย (#) ตอบโดยยังไม่มีความสมบูรณ์ (ทำบางส่วนของคำถาม) ยังไม่ได้ดำเนินการ ให้ตอบว่า “ยังไม่ได้ดำเนินการ เนื่องจาก ..........” (ให้ระบุปัญหาหรือสาเหตุที่ยังไม่ได้ดำเนินการ) คำถามที่ส่วนราชการมีลักษณะงานไม่เกี่ยวข้องกับเรื่องนั้น ให้ตอบว่า “ส่วนราชการมีลักษณะงานไม่เกี่ยวข้องกับคำถามในข้อนี้” คำถามที่มีเครื่องหมายดอกจัน (*) ที่ปรากฏอยู่ที่ท้ายของคำถาม หมายถึง ให้ส่วนราชการตอบตามความเหมาะสมตามภารกิจของส่วนราชการนั้น

แนวทางการประเมินผล ขั้น 1 : ลักษณะสำคัญขององค์กร พิจารณาจากเอกสาร/บันทึกการประชุม ที่มีเนื้อหาแสดงถึงการทบทวนลักษณะสำคัญขององค์กร ปี 49 (เฉพาะกรณีสถาบันอุดมศึกษาที่ดำเนินการต่อเนื่อง) พิจารณาความครบถ้วนของรายงานผลการจัดทำลักษณะสำคัญขององค์กร คือ จำนวนข้อที่ตอบคำถามตามแนวทางที่กำหนด คะแนนที่ได้รับ 0.2 0.4 0.6 0.8 1.0 จำนวนข้อที่ตอบคำถาม 3 6 9 12 15

การดำเนินการ ขั้น 2 : จัดทำรายงานผลการดำเนินการ สถาบันอุดมศึกษาที่ดำเนินการต่อเนื่อง ให้ทบทวนรายงานผลการดำเนินการเบื้องต้นขององค์กร (ตอบ 7 หมวด 90 คำถาม) ที่ทำไว้ ปี 49 เนื่องจาก มีความเข้าใจเกณฑ์ฯ มากขึ้น ข้อมูลสารสนเทศมีการปรับเปลี่ยน เช่น แผนยุทธศาสตร์องค์กร ความต้องการของผู้รับบริการ กระบวนการทำงาน เป็นต้น หมวด 1-6 มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบการตอบคำถาม (จาก template ปี 49 ให้ส่วนราชการเลือกตอบได้ 3 วิธี) หมวด 7 มีการปรับเปลี่ยนตัวชี้วัดที่แสดงผลลัพธ์การดำเนินการ ให้มีความสอดคล้องตามมาตรฐานสากล และแสดงผลในเชิงปริมาณได้

แนวทางการตอบคำถาม ขั้น 2 : รายงานผลการดำเนินการขององค์กร ในการตอบคำถามแต่ละข้อ อาจมีคำถามหลายหัวข้อย่อย (bullet) อาจตอบรวมหัวข้อย่อยไว้ด้วยกันก็ได้ หมวด 1-6 ในแต่ละข้อคำถาม สามารถเลือกตอบได้ 3 รูปแบบ คือ ตอบโดยใช้ตาราง ใช้ได้ทั้งตาราง template ปี 49 หรือปรับเปลี่ยนใหม่ได้ตามความเหมาะสม ตอบโดยใช้แผนภาพหรือแผนผัง พร้อมคำอธิบาย ตอบโดยการพรรณา หมวด 7 ตอบโดยใช้ตาราง หรือกราฟประกอบด้วยก็ได้

แนวทางการตอบคำถาม ขั้น 2 : รายงานผลการดำเนินการขององค์กร ส่วนราชการต้องตอบทุกคำถาม (90 คำถาม) โดย คำถามที่มีเครื่องหมาย (#) เป็นคำถามบังคับ ต้องตอบคำถามโดยมีข้อมูลสารสนเทศที่เกี่ยวข้องในเรื่องนั้น ๆ คำถามที่ไม่มีเครื่องหมาย (#) ตอบโดยยังไม่มีความสมบูรณ์ (ทำบางส่วนของคำถาม) ยังไม่ได้ดำเนินการ ให้ตอบว่า “ยังไม่ได้ดำเนินการ เนื่องจาก ..........” (ให้ระบุปัญหาหรือสาเหตุที่ยังไม่ได้ดำเนินการ) คำถามที่ส่วนราชการมีลักษณะงานไม่เกี่ยวข้องกับเรื่องนั้น ให้ตอบว่า “ส่วนราชการมีลักษณะงานไม่เกี่ยวข้องกับคำถามในข้อนี้” คำถามที่มีเครื่องหมายดอกจัน (*) ที่ปรากฏอยู่ที่ท้ายของคำถาม หมายถึง ให้ส่วนราชการตอบตามความเหมาะสมตามภารกิจของส่วนราชการนั้น

แนวทางการประเมินผล ขั้น 2 : รายงานผลการดำเนินการขององค์กร แนวทางการประเมินผล ขั้น 2 : รายงานผลการดำเนินการขององค์กร พิจารณาจากเอกสาร/บันทึกการประชุม ที่มีเนื้อหาแสดงถึงการทบทวนรายงานผลการดำเนินการขององค์กร ปี 49 (เฉพาะกรณีสถาบันอุดมศึกษาที่ดำเนินการต่อเนื่อง) พิจารณาความครบถ้วนของรายงานผลการดำเนินการขององค์กร คือ จำนวนข้อที่ตอบคำถามตามแนวทางที่กำหนด คะแนนที่ได้รับ 0.2 0.4 0.6 0.8 1.0 จำนวนข้อที่ตอบคำถาม 30 45 60 75 90

การดำเนินการ ขั้น 3 : ◊ ประเมินองค์กรด้วยตนเอง ◊ จัดลำดับความสำคัญของโอกาสในการปรับปรุง ประเมินองค์กรด้วยตนเอง (Self-Assessment) คือ การวิเคราะห์หาจุดแข็ง และโอกาสในการปรับปรุง ตามแนวทางการประเมิน Tips ! อะไรที่เกณฑ์ถาม แล้วองค์กรมี “เป็นจุดแข็ง” อะไรที่เกณฑ์ถาม แล้วองค์กรไม่มี “เป็นโอกาสในการปรับปรุง”

มิติ มิติ แนวทางการประเมิน กระบวนการ ผลลัพธ์ แนวทาง (Approach - A) การถ่ายทอดเพื่อนำไปปฏิบัติ (Deployment - D) การเรียนรู้ (การทบทวนและ ปรับปรุง) (Learning - L) การบูรณาการ (Integration - I) ผลการดำเนินการปัจจุบัน (Level - Le) แนวโน้ม (Trend - T) ผลการดำเนินการเปรียบเทียบ (Comparison - C) ครอบคลุมและความสำคัญของผลลัพธ์ (Linkage - Li)

การดำเนินการ ขั้น 3 : ◊ ประเมินองค์กรด้วยตนเอง ◊ จัดลำดับความสำคัญของโอกาสในการปรับปรุง จัดลำดับความสำคัญของโอกาสในการปรับปรุง คือ การนำ “โอกาสในการปรับปรุง” ที่พบกระจัดกระจายจากการประเมิน มาจัดลำดับความสำคัญเพื่อนำไปปรับปรุงแก้ไขให้สอดคล้องกับความจำเป็นเร่งด่วนและทรัพยากรที่องค์กรมี Tips ! ใช้หลัก Vital Few

การดำเนินการ ขั้น 4 : การจัดทำแผนปรับปรุงองค์กร ให้เลือก 2 แผน มาดำเนินการในปี 50 โดยมีแนวทางคัดเลือก เป็นเรื่องเร่งด่วนที่ต้องดำเนินการปรับปรุง มีงบประมาณรองรับดำเนินการ สอดคล้องกับแผนอื่น ๆ ที่จะต้องดำเนินการอยู่แล้ว เช่น แผนข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง หรือแผนการจัดการความรู้

แนวทางการประเมินผล ขั้น 4 : การจัดทำแผนปรับปรุงองค์กร แนวทางการประเมินผล ขั้น 4 : การจัดทำแผนปรับปรุงองค์กร ส่วนราชการส่งแผนฯ ไปยังภารกิจการบริหารการเปลี่ยนแปลง ภายใน 30 มิ.ย. 50 หากเป็นแผนระยะยาว ผลการดำเนินการในปี 50 ต้องเป็นกิจกรรมที่มีผลผลิต/ผลลัพธ์ที่บ่งชี้ถึงก้าวหน้าที่สำคัญของแผน หากกำหนดเฉพาะกิจกรรมที่มิใช่สาระสำคัญหรือไม่มีความชัดเจน หรือไม่สอดคล้องกับการจัดลำดับความสำคัญ ปรับลดคะแนนที่ได้รับของตัวชี้วัดลง 0.25 คะแนน คะแนนที่ได้รับ 0.5 1.0 จำนวนแผนปรับปรุงที่จัดทำแล้วเสร็จ 1 2

การดำเนินการ ขั้น 5 : การวัดความสำเร็จของการดำเนินการตามแผนปรับปรุงองค์กร ลำดับที่(i)และชื่อแผนปรับปรุง ร้อยละของความสำเร็จ ของการดำเนินการตามแผน แผนที่ 1.... C1 แผนที่ 2 …. C2 ร้อยละเฉลี่ยความสำเร็จ ของการดำเนินการตามแผน C1+C2 2 โดยที่ ร้อยละของความสำเร็จของการดำเนินการตามแผน (Ci) หมายถึง ความคืบหน้าหรือความสำเร็จในการดำเนินการของแต่ละกิจกรรม เมื่อเปรียบเทียบกับกิจกรรมที่จะต้องปฏิบัติทั้งหมดที่ได้กำหนดไว้ ตามรายละเอียดแผนปรับปรุง i หมายถึง ลำดับที่ของแผนปรับปรุง ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2550

แนวทางการประเมินผล ขั้น 5 : การวัดความสำเร็จของการดำเนินการตามแผนปรับปรุงองค์กร พิจารณาจากร้อยละเฉลี่ยความสำเร็จของการดำเนินการตามแผน 0.2 คะแนน 0.4 คะแนน 0.6 คะแนน 0.8 คะแนน 1.0 คะแนน 60 70 80 90 100

รายงานผลการประเมิน ระดับความสำเร็จของการดำเนินการ ระดับขั้นตอนการดำเนินการ คะแนนที่ได้รับ ขั้นตอนที่ 1 ขั้นตอนที่ 2 ขั้นตอนที่ 3 ขั้นตอนที่ 4 ขั้นตอนที่ 5 คะแนนรวม

เอกสารที่ต้องส่งมอบ เอกสารที่ต้องส่งมอบ ส่วนราชการ กรมที่ดำเนินการต่อเนื่องจากปีงบประมาณ พ.ศ. 2549 กรมที่เริ่มดำเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2550 สถาบันอุดม ศึกษา 1. หลักฐานการจัดประชุมชี้แจง คำสั่งแต่งตั้งคณะทำงาน และแผนดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐของส่วนราชการที่ได้รับความเห็นชอบจากผู้บริหาร  2. หลักฐานหรือเอกสารที่แสดงถึงการทบทวนลักษณะสำคัญขององค์กร ที่ดำเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2549 รายงานผลการดำเนินการเบื้องต้นขององค์กร ที่ดำเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2549 (สำหรับสถาบันอุดมศึกษา เฉพาะที่ดำเนินการต่อเนื่องจากปีงบประมาณ พ.ศ. 2549) 3. รายงานผลการจัดทำลักษณะสำคัญขององค์กร 4. รายงานผลการดำเนินการขององค์กร 5. รายงานสรุปผลการประเมินองค์กร (Self-Assessment Report)

เอกสารที่ต้องส่งมอบ เอกสารที่ต้องส่งมอบ ส่วนราชการ กรมที่ดำเนินการต่อเนื่องจากปีงบประมาณ พ.ศ. 2549 กรมที่เริ่มดำเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2550 สถาบันอุดม ศึกษา 6. รายงานสรุปผลการจัดลำดับความสำคัญของโอกาสในการปรับปรุง  7. สำเนาหนังสือการจัดส่งแผนปรับปรุงองค์กรที่เลือกดำเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2550 จำนวน 2 แผน มายังสำนักงาน ก.พ.ร. ภายใน 30 มิถุนายน 2550 8. รายละเอียดแผนปรับปรุงองค์กรที่เลือกดำเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2550 จำนวน 2 แผน 9. รายงานสรุปผลการดำเนินงานตามแผน และหลักฐานเอกสารสำคัญที่แสดงถึงการดำเนินการตามแผน 10. รายงานผลการประเมินระดับความสำเร็จของการดำเนินการ

Q & A Thank you